Page 56 - รายงานผล
P. 56

5. กรมทรัพยากรน�้าบาดาล


                ผู้ตรวจราชการกระทรวงฯ (นายสุวัฒน์  เปี่ยมปัจจัย) ตรวจราชการกรมทรัพยากรน�้าบาดาล ทั้งหมด จ�านวน 4 ครั้ง เป็นการ
            ตรวจหน่วยงานส่วนกลาง จ�านวน 1 ครั้ง และตรวจหน่วยงานส่วนภูมิภาค จ�านวน 3 ครั้ง ในจังหวัดขอนแก่น ชลบุรี และ
            อุบลราชธานี พบปัญหาอุปสรรคและข้อค้นพบ โดยได้ให้ข้อเสนอแนะ ทั้งหมด จ�านวน 33 ข้อ และหน่วยงานได้รายงานผลการ

            ด�าเนินงานตามข้อเสนอแนะมาครบถ้วนแล้ว และน�าข้อเสนอแนะไปด�าเนินการแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรมตามตัวอย่าง ดังนี้
            ปัญหำ / ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงฯ และผลกำรด�ำเนินงำนตำมข้อเสนอแนะ


                  เจ้าหน้าที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจแนวทางปฏิบัติ      สทบ. บางพื้นที่น�าข้อมูลทางกายภาพ และข้อมูล
            ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ การพัฒนาแต่ละพื้นที่มาประกอบการวิเคราะห์เลือกรูปแบบ

            ภาครัฐ พ.ศ. 2560 ส่งผลให้การด�าเนินงานล่าช้ากว่าก�าหนด การทดลองเติมน�้าลงสู่ชั้นน�้าใต้ดินไม่ครอบคลุมทุกประเด็น
            ข้อเสนอแนะ : พิจารณากระจายภารกิจที่ส่วนกลางรับผิดชอบ  จึงส่งผลต่อการพิจารณาเลือกพื้นที่และรูปแบบการทดลองดังกล่าว
            ให้แก่หน่วยงานในส่วนภูมิภาค รวมทั้ง จัดสรรบุคลากรและ  ข้อเสนอแนะ : ควรเลือกรูปแบบการเติมน�้าลงสู่ชั้นน�้าใต้ดิน

            พัฒนาให้มีความรู้ความสามารถเพียงพอกับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น  ที่มีเกือบ 10 รูปแบบ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยค�านึงถึง
            เพื่อรองรับการปรับบทบาทการพัฒนาน�้าบาดาลให้มี ความคุ้มค่าและต้องไม่ท�าให้น�้าบาดาลเกิดการปนเปื้อน เช่น
            ประสิทธิภาพมากขึ้นในอนาคตโดยเฉพาะ ภารกิจการจัดซื้อ รูปแบบการเติมน�้าผ่านหลังคา ถังพักน�้าสามารถใช้เป็นแหล่ง

            จัดจ้างซึ่งมีปัญหาเรื่องรหัสงบประมาณที่มีเป็นจ�านวนมาก   กักเก็บน�้าดื่มในฤดูแล้งได้ด้วย หรือรูปแบบการเติมน�้าผ่านสระ
            ควรฝึกอบรม  เรื่อง  พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง  เป็นการเติมน�้าที่ประหยัดเมื่อเทียบกับปริมาณน�้าที่เติมได้
            และการบริหารพัสดุภาครัฐ  พ.ศ.  2560  อบรม  เรื่อง   เป็นต้น และภาครัฐควรด�าเนินการเองในกรณีที่เป็นโครงการ

            การส�ารวจทางธรณีฟิสิกส์ (Resistivity) ให้แก่นายช่างเทคนิค  ขนาดใหญ่ ส�าหรับโครงการขนาดเล็ก ควรส่งเสริมให้ท้องถิ่น
            เพื่อให้นักวิชาการกับนายช่างเทคนิคสามารถท�างานทดแทน ด�าเนินการ และให้พิจารณาการน�าหลุมหรือแอ่งจากเหมือง
            ภารกิจระหว่างกันได้                              ร้างมาพัฒนาเป็นแก้มลิง หรือแหล่งเติมน�้าซึ่งควรส�ารวจความ

            ผลการด�าเนินงานตามข้อเสนอแนะ  :  การจัดซื้อ  คุ้มค่า ความเหมาะสมและด�าเนินการต่อไป
            จัดจ้างและการพัสดุ ให้ สทบ.เขต 1 - 12 เป็นผู้ด�าเนินการ  ผลการด�าเนินงานตามข้อเสนอแนะ :  ในการศึกษา
            ส�าหรับภารกิจด้านอื่น ทบ. ได้จัดท�าแผนการด�าเนินงาน  ทดลองเติมน�้าทั้ง 10 รูปแบบ มีการศึกษาในประเด็น
            ที่สอดคล้องกับจ�านวนบุคลากรของ สทบ. ทั้ง 12 เขตและ ทบ.  ความคุ้มค่าและการป้องกันการปนเปื้อนต่อชั้นน�้าบาดาลด้วย

            มีแผนจะด�าเนินการจัดการฝึกอบรมที่ส�าคัญ 2 เรื่อง ได้แก่ (1)  แล้ว รวมทั้ง การเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ
            เรื่องพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ  ลักษณะทางด้านอุทกธรณีวิทยา และ ทบ. มีแนวทางส่งเสริม

            พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อให้บุคลากรในสังกัดสามารถปฏิบัติงาน  ให้ประชาชนและท้องถิ่นด�าเนินการในส่วนของการเติมน�้าขนาด
            ด้านการพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้างได้อย่างถูกต้อง และมี เล็กและง่ายต่อการดูแลบ�ารุงรักษา โดยโครงการขนาดใหญ่ อาจ
            ประสิทธิภาพมากขึ้น และ (2) เรื่องการส�ารวจธรณีฟิสิกส์ และ  ร่วมกับเอกชนผู้ใช้น�้ารายใหญ่ในการด�าเนินงานโครงการ ใน
            การหยั่งธรณีหลุมเจาะ เพื่อให้บุคลากรระดับปฏิบัติ และ  ลักษณะท�างานร่วมกันทั้งในเชิงงบประมาณและการด�าเนิน

            ช่างเทคนิค ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค  ได้ยกระดับ  การ ส่วนหลุมหรือแอ่งน�้าจากการขุดท�าเหมืองหรือหน้าดิน
            องค์ความรู้ด้านวิชาการ ทักษะ และประสบการณ์ให้มากยิ่งขึ้น  ขาย อาจเป็นการศึกษาในส่วนของการเป็นแหล่งเติมน�้าใต้ดิน


                         วิเคราะห์จุดร่วมที่สะท้อนความส�าเร็จจากการตรวจราชการ

                การวิเคราะห์จุดร่วมที่สะท้อนความส�าเร็จคือ ทบ. มีการพัฒนาความรู้ให้บุคลากรเรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อ
            จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ภายหลังการพัฒนาบุคลากรจะสามารถด�าเนินงานได้อย่างถูกต้องและ

            รวดเร็วตามแผนที่ก�าหนด และมีการน�าข้อมูลการพัฒนาแต่ละพื้นที่มาประกอบการวิเคราะห์เลือกรูปแบบการเติมน�้า
            ลงสู่ชั้นน�้าใต้ดิน จะส่งผลให้การเลือกรูปแบบมีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ยิ่งขึ้น
      42
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61