Page 26 - งานวารสาร 5/6
P. 26

“เพชรโฮป” ไม่มีอะไรเกิดขึ้นกับครอบครัวของโฮป จนในปี ค.ศ.1901ครอบครัวของโฮปได้ขายเพชรเม็ดนั้นไป  เจ้าของ

        ใหม่ไม่ได้โชคดีเหมือนกับครอบครัวโฮป หลายคนต้องประสบกับโชคร้าย พ่อค้าอัญมณีชาวกรีก เป็นเจ้าของเพชรโฮปได้ไม่

        นานก่อนที่จะตกหน้าผาตาย เจ้าของคนต่อมาเศรษฐีชาวเติร์กได้ซื้อมันเป็นของขวัญให้ภรรยา แต่หลังจากนั้นไม่นานเขาได้ยิง

        เธอตายอย่างไม่เจตนา เพชรโฮปตกมาสู่มือของเจ้าชายรัสเซีย ทรงให้แฟนสาวสวมในงานแสดงเต้นร า แล้วเจ้าชายก็ลุกขึ้นยืน

        ยิงเธอตายอย่างไม่มีเหตุผล หลาย คนเริ่มกลัวในเรื่องที่เกิดขึ้น แต่อีกไม่นาน อีวาลิน แมคลิน มหาเศรษฐีชาวอเมริกันได้ซื้อ

        เพชรเม็ดนั้นโดยไม่ยอมฟังค าเตือนของเพื่อนๆ และเธอต้องเสียใจที่ซื้อมันมา เมื่อแม่ของเธอและคนใช้อีกสองคนตาย

        กะทันหัน  จากนั้นบริษัทคาร์เทียร์เป็นผู้รับซื้อเพชรโฮปเม็ดนั้นไว้ แล้วน าไปขายต่อให้กับ ครอบครัวแมคลีน (McLean)

        อาถรรพ์ที่เกิดกับพวกเขาก็คือบุตรชายวัยแปดขวบของพวกเขาเสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถชน บุตรสาวและหลานสาวของพวก

        เขา ก็ตายเนื่องจากใช้ยาบาบิตูเรตเกินขนาด ส่วน เอ็ดเวิร์ด แมคลีน มีอาการคลุ้มคลั่ง วิกลจริต และเสียชีวิตในโรงพยาบาล

        โรคจิตแห่งหนึ่ง


        ในที่สุด แฮรี่ วินสตัน (Harry Winston) ซึ่งเป็นพ่อค้าเพชรชาวนิวยอร์ก ได้ซื้อเพชรโฮป และมอบให้แก่สถาบัน สมิธโซ

        เนียน (Smithsonian Institute) ในกรุงวอชิงตัน ดีซี ซึ่งดูเหมือนค าสาปแช่งจะยุติลงเพียงแค่นั้น อย่างไรก็ตาม ใน

        ท่ามกลางจดหมายจ านวนนับพันๆ ฉบับที่ส่งมาขอบคุณในการบริจาคของเขาครั้งนั้น

        คดีเพชรซาอุในไทย


        ในปี  พ.ศ. 2532 หรือที่รู้จักกันว่า คดีเพชรซาอุ เป็นคดีการขโมยเครื่องเพชรของราชวงศ์ซาอุดิอาระเบีย โดยลูกจ้างชาวไทย

        ซึ่งท าให้ความสัมพันธ์ระหว่างซาอุดิอาระเบียและไทยเสื่อมลงจนถึงปัจจุบัน โดยมูลเหตุของคดีนี้มาจากคดีดังกล่าวมี

        จุดเริ่มต้นจากการที่นายเกรียงไกร เตชะโม่ง ซึ่งเป็นแรงงานไทยที่ได้เดินทางไปท างานยังประเทศซาอุดิอาระเบีย และถูกจัด

        ให้เข้าไปท างานเป็นพนักงานท าความสะอาดภายในพระราชวังของกษัตริย์ซาอุดิอาระเบียในช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2532

        นายเกรียงไกรเมื่อเข้าไปท างานในพระราชวังจึงได้เห็นช่องทางในการขโมยเครื่องเพชรดังกล่าว เพราะเครื่องเพชรเหล่านั้นมี

        จ านวนมากและถูกวางไว้อย่างไม่เป็นที่เป็นทาง แม้แต่ตู้เซฟก็ยังถูกเปิดทิ้งเอาไว้นายเกรียงไกรอาศัยช่วงเวลาที่เจ้าชายไฟซาล

        บิน ฟาฮัด บิน อับดุล อซิซ (Prince Faisal Bin Fahud Bin Abdul Aziz) แปรพระราชฐานไปพักผ่อนในแถบทะเล

        เมดิเตอร์เรเนียน ในเดือนธันวาคม 2532 ท าการขโมยเครื่องเพชร โดยแอบน าถุงกระสอบขนาดใหญ่เข้าไปในพระราชวัง ซ่อน

        ตัวอยู่ภายในพระราชวังจนถึงเวลากลางคืน แล้วจึงท าการขโมยเครื่องเพชรใส่ถุงกระสอบแล้วโยนถุงกระสอบลงมาออกนอก

        ก าแพงพระราชวัง เมื่อได้เครื่องเพชรมาแล้ว นายเกรียงไกรใช้วิธีส่งเครื่องเพชรกลับมายังประเทศไทยล่วงหน้า ด้วยบริการ

        ขนส่งพัสดุทางอากาศ โดยปะปนกับเสื้อผ้าและเครื่องใช้ส่วนตัว ซึ่งด่านศุลกากรของทั้งสองประเทศไม่สามารถตรวจพบ เมื่อ
        ท าการโจรกรรมเรียบร้อยแล้ว เกรียงไกรได้เดินทางกลับประเทศไทยทันที ก่อนที่เจ้าชายไฟซาลจะเสด็จกลับมายังพระราชวัง

        ทั้งที่เหลือเวลาท างานตามสัญญาอีก 2 เดือน


        โดยเครื่องเพชรดังกล่าวถูกน ามายังจังหวัดล าปาง หลังจากนั้นไม่นานรัฐบาลซาอุดิอาระเบีย ประสานมายังรัฐบาลไทย ขอให้

        ติดตามเครื่องเพชรประจ าราชวงศ์ส่งคืน ผลการสอบสวนนายเกรียงไกรพบว่า นายเกรียงไกรได้แบ่งเครื่องเพชรให้กับเพื่อนที่

        มีส่วนรู้เห็น ทั้งไม่รู้ด้วยว่าแบ่งเครื่องเพชรชนิดและประเภทใดให้เพื่อนไปบ้าง เนื่องจากมีความรู้เรื่องอัญมณีน้อยมาก
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31