Page 18 - history
P. 18
15
1.การปกครองส่วนกลาง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้มีต าแหน่งสมุหกลาโหม
และสมุหนายก สมุหกลาโหม รับผิดชอบด้านการทหาร มีหน้าที่บังคับบัญชา
ตรวจตราการทหาร เกณฑ์ไพร่พลในยามมีศึก ยามสงบรวบรวมผู้คน อาวุธ
เตรียมพร้อม สมุหนายก ท าหน้าที่บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ยพลเรือนทั่วราชอาณาจักรและ
ดูแลจดุสดมภ์ พระองค์ได้ทรงก าหนดหน่วยงานระดับกรม (เทียบได้กับกระทรวงใน
ปัจจุบัน)ขึ้นอีก 2 กรม จึงมีหน่วยงานทางการปกครอง 6 กรม กรมใหม่ที่จัดตั้งขึ้นมี
เสนาบดีรับผิดชอบในหน้าที่ ดังนี้
กรมมหาดไทย มีพระยาจักรีศรีองครักษ์เป็นสมุหนายกมีฐานะเป็นอัตรมหา
เสนาบดี มีหน้าที่ควบคุมกิจการพลเรือนทั่วประเทศ
กรมกลาโหม มีพระยามหาเสนาเป็นสมุหพระกลาโหม มีฐานะเป็นอัครมหา
เสนาบดี มีหน้าที่ควบคุมกิจการทหารทั่วประเทศพร้อมกันนี้ได้ปรับปรุงกรมจตุสดมภ์เสีย
ใหม่ ให้มีเสนาบดีรับผิดชอบงานในหน้าที่ของแต่ละกรม คือ
กรมเมือง มีพระนครบาลเป็นเสนาบดี
กรมวัง มีพระธรรมาธิกรณ์เป็นเสนาบดี
กรมคลัง มีพระโกษาธิบดีเป็นเสนาบดี
กรมนา มีพระเกษตราธิการเป็นเสนาบดี
2.การปกครองส่วนภูมิภาค สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯให้ยกเลิกเมืองหน้าด่าน
หรือเมืองลูกหลวง ให้จัดการปกครองหัวเมืองในส่วนภูมิภาค ดังนี้
หัวเมืองชั้นใน จัดเป็นเมืองชั้นจัตวา ผู้ปกครองเมืองเรียกว่า “ผู้รั้ง”ไม่มีอ านาจ
อย่างเจ้าเมือง ต้องปฏิบัติตามค าสั่งของราชธานี เป็นเมืองที่ตั้งอยู่โดยรอบราช
ธานี เช่น ชัยนาท นครสวรรค์ สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และชลบุรี เป็น
ต้น พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขุนนางในกรุงศรีอยุธยาไปท าหน้าที่ผู้รั้งเมือง
หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ เมืองที่อยู่ถัดจากหัวเมืองชั้นในออกไป(ซึ่งเป็นเมืองพระยาม
หานครในสมัยก่อน)จัดเป็นหัวเมืองชั้นตรี โท เอก ตามขนาดและความส าคัญของเมือง
นั้นๆ อาจมีเมืองเล็กขึ้นด้วยพระมหากษัตริย์ทารงแต่งตั้งเจ้านายในพระราชวงศ์หรือขุน
นางผู้ใหญ่ออกไปปกครองเป็นเจ้าเมือง มีอ านาจเต็มในการบริหารราชการภายในเมือง
เมืองประเทศราชโปรดฯให้มีการจัดการปกครองเหมือนเดิม คือ ให้มีเจ้านายใน
ท้องถิ่น เป็นเจ้าเมืองหรือกษัตริย์ มีแบบแผนธรรมเนียมเป็นของตนเอง