Page 125 - FVC2015
P. 125

                                              ภาพที่ 3.87 กิจกรรมการดําาเนินงานของปลาทูน่าแช่แข็ง จากกรณีศึกษาโซ่อุปทานปลาน้ําาเค็ม ผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าแช่แข็ง พบปัญหาที่เกิดขึ้น
ในกิจกรรมโลจิสติกส์ต่าง ๆ และได้ให้คําาปรึกษาแนะนําาดังนี้
1. การรับและคัดแยกวัตถุดิบ
ในการลาํา เลยี งปลาเพอื่ มาคดั แยกสายพนั ธแุ์ ละขนาดมคี วามลา่ ชา้ เกดิ การรอคอย สง่ ผลให้เกิดความล่าช้าในกระบวนการรับวัตถุดิบ
แนวทางการแก้ปัญหา: ออกแบบจุดรับวัตถุดิบและเครื่องจักรในการคัดแยกขนาด ปลา เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการดําาเนินงานและลดจําานวนแรงงาน โดยแบบจุดรับวัตถุดิบ เบอื้ งตน้ แสดงดงั ภาพที่ 3.88 (ออกแบบใหแ้ ละโรงงานนาํา ไปดาํา เนนิ การตอ่ เอง เนอื่ งจากมลู คา่ การดําาเนินการประมาณ 20-30 ล้านบาท)
การทาํา งานของจดุ รบั วตั ถดุ บิ ตามแบบเบอื้ งตน้ นี้ เรมิ่ ตน้ จากรถบรรทกุ ปลาจากทา่ เรอื เคลื่อนที่สู่ Hydraulic Truck Dumper เพื่อยกรถบรรทุกให้สามารถเทปลาจากส่วนท้าย รถลงสู่ Box Feeder จากนั้นเคลื่อนย้ายปลามาคัดแยกแบบหยาบ (คัดเฉพาะปลา Bigeye และปลา Yellow Fin) ต่อมาสายพานลําาเลียงปลาที่เหลือคือ ปลาสายพันธุ์ Skip Jack เข้าสู่ Vibrating Screen เพื่อคัดแยกปลาตามขนาด โดยสายพานจะลําาเลียงปลาเข้าสู่ระบบคัดแยก แบบละเอียด โดยใช้น้ําาหนักเป็นเกณฑ์ (Weight Belt) เพื่อชั่งน้ําาหนักปลาและคัดแยกปลาลง ถังจัดเก็บด้วยระบบเซ็นเซอร์
  117




























































































   123   124   125   126   127