Page 131 - FVC2015
P. 131

     จึงได้เสนอให้มีการประสานงานและทําาข้อตกลงกับ Suppliers และลูกค้าที่เกี่ยวข้อง พร้อม ทั้งทําาแผนรองรับในการเปลี่ยนแปลงด้วย
1.2 มสี นิ คา้ คงคลงั ในสว่ นของสโตรช์ า่ ง และสว่ นผสมตา่ ง ๆ ทมี่ ากเกนิ จาํา เปน็ สง่ ผล ให้เกิดต้นทุนจมเป็นจําานวนมาก และสิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บ
แนวทางการแก้ปัญหา: ทําาการวิเคราะห์รูปแบบที่เหมาะสมในการสั่งซื้อสําาหรับใช้ใน การผลิต และจัดการสินค้าคงคลังเดิมออกไปให้เร็วที่สุด ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะแยกสินค้า คงคลังออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ สินค้าคงคลังในส่วนของสโตร์ช่าง ส่วนผสม และสินค้าสิ้น เปลือง โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลสินค้าคงคลังแบบ ABC
ABC analysis เป็นหลักการวิเคราะห์ของพาเรโต (Pareto analysis) หรือหลัก 80/20 สาํา หรบั การคดั เลอื กงานจาํา นวนจาํา กดั ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ภาพรวมมากทสี่ ดุ โดยมหี ลกั การ ว่า 20% ของงานสามารถก่อให้เกิดรายได้ 80% แต่งานที่เหลืออีก 80% มีผลกระทบต่อราย ได้เพียง 20% การวิเคราะห์และจําาแนกสินค้าออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามมูลค่าต่อรายการนี้ จึงมีประโยชน์ต่อการจัดการสินค้าเป็นอย่างมาก ดังนั้นองค์กรควรระมัดระวังเอาใจใส่สินค้า ที่มีมูลค่ามาก โดยแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ กลุ่ม “A” ต้องมีการตรวจดูแลบ่อยมาก กลุ่ม “B” และกลุ่ม “C” เป็นกลุ่มที่ให้ความสําาคัญรองลงมา และมีการตรวจดูแลน้อยลง
สําาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสินค้าคงคลังแบบ ABC จะแยกสินค้าคงคลังออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่ม A, B และ C ตามมูลค่าของสินค้าคงคลัง กลุ่มที่เสนอแนวทางแก้ไขคือ กลุ่ม A และ B โดยนําามาวิเคราะห์ความเหมาะสมของรูปแบบความต้องการด้วย Peterson-Silver Rule เพื่อตัดสินใจเลือกใช้การสั่งขนาดสินค้า โดยคําานวณจากค่า Variance (V) ซึ่งหากค่า V < 0.25 จะตัดสินใจเลือกการสั่งขนาดสินค้าแบบคงที่ (EOQ) และต้องวิเคราะห์ Normal Test เพอื่ กาํา หนดคา่ Max-Min ของสนิ คา้ หรอื หากคา่ V ≥ 0.25 จะตดั สนิ ใจเลอื กการสงั่ ขนาดสนิ คา้ แบบไม่คงที่ (Dynamic Lot Sizing) แผนผังการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงดังแสดงในภาพที่ 3.91
โดยที่ Dt เป็นค่าพยากรณ์ความต้องการสินค้าต่อหน่วย สําาหรับ n ช่วงเวลา
   123




























































































   129   130   131   132   133