Page 22 - FVC2015
P. 22

                                                                                                                                      ภาพที่ 2.2 วัตถุประสงค์ของการสร้างตราสินค้าให้กับผลิตภัณฑ์
ผลผลิตทางการเกษตรของไทยจําานวนมากมีลักษณะ้เป็นสินค้า Commodity หมาย ถึง สินค้าที่ความแตกต่างในตัวสินค้ามีน้อยมาก เช่น ข้าว นําาตาล ผักผลไม้ เป็นต้น เมื่อส่ง ออกไปยังตลาดต่างประเทศจึงเผชิญภาวะที่มีคู่แข่งขันจําานวนมาก สินค้ามีความใกล้เคียงกัน มีการตัดราคาขายเพื่อแข่งขัน ผู้บริโภคปัจจุบันมีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่ายจึงมีโอกาสใน การเลือกซื้อ และมีการเปลี่ยน (Switching) ไปยังผู้ขายรายอื่น ๆ ได้ง่าย จึงขาดความจงรัก ภักดีในตัวสินค้า การสร้างตราสินค้าจะช่วยให้ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมีการให้ข้อมูลต่อผู้ บริโภคที่ชัดเจน สินค้าโดดเด่น มีความแตกต่าง กําาหนดราคาในตลาดได้ ผู้บริโภคจะยอมจ่าย เพื่อซื้อผลิตภัณฑ์ในราคาสูง ทําาให้ผู้ผลิตมีผลกําาไรมากขึ้น และก่อให้เกิดความจงรักภักดีต่อ ตราสินค้า ซึ่งจะทําาให้ผู้ประกอบการไทยผลิตและส่งออกผลิตผลทางการเกษตรได้อย่างยั่งยืน (Sustainable agriculture)
(1) ตราสินค้ากับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
ตราสนิ คา้ สามารถทาํา ใหส้ นิ คา้ มคี วามแตกตา่ งภายในจติ ใจของลกู คา้ ตวั อยา่ งเชน่ สม้ ที่ขายโดยทั่วไปในตลาด แต่ถ้าเป็นส้มที่มีตราสินค้า และมีผู้บริโภคจําานวนมาก รู้จักชื่อตราสิน ค้านั้นและให้ความเชื่อถือ ก็จะมีความแตกต่างจากส้มทั่วไป ผู้ประกอบการไทยที่อําาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่สามารถสร้างตราสินค้าและพัฒนาตราให้เข้มแข็งได้ในยี่ห้อส้มธนาธร โดย เพาะปลูกส้มหลายสายพันธุ์ ส้มที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ส้มสายน้ําาผึ้งและส้มฟรีมองต์ธนาธร ซึ่งมี การสร้างตราสินค้าของตนอย่างต่อเนื่อง ส้มธนาธรจึงเป็นที่รู้จักและสร้างมูลค่าเพิ่ม สามารถ ขายไดใ้ นราคาทสี่ งู กวา่ สม้ โดยทวั่ ๆ ไป ธรุ กจิ สวนสม้ ตราธนาธรสามารถตอ่ ยอดจากสม้ ไปผลติ
 014






























































































   20   21   22   23   24