Page 30 - FVC2015
P. 30
เราจะเห็นได้ว่าสินค้าทุกชนิดเท่าที่เรารู้จักส่วนใหญ่จําาเป็นต้องใช้บรรจุภัณฑ์ใน ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง จะเห็นได้ว่ารายได้ส่วนใหญ่ของประเทศไทยมาจากการส่งออกสินค้า เช่น อาหารแปรรูป ผลิตผลทางการเกษตร อาหารแช่แข็ง สินค้าอุปโภคต่าง ๆ ยา สารเคมี สนิ คา้ สงิ่ ทอหรอื อนื่ ๆ ซงึ่ มคี วามจาํา เปน็ ตอ้ งใชบ้ รรจภุ ณั ฑท์ ไี่ ดม้ าตรฐาน สามารถปกปอ้ งรกั ษา คุณภาพสินค้าไปยังประเทศปลายทางและแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) บรรจุภัณฑ์กับการค้าและการส่งออก
ในการส่งออกสินค้าต้องคําานึงถึงบรรจุภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้งานได้ดี สําาหรับในแต่ละจุดของระบบโลจิสติกส์ เช่น การเก็บรักษา การจําาหน่าย การกระจายสินค้า การจัดเรียงเพื่อวางจําาหน่ายบนชั้นวางสินค้า การออกแบบให้มีหน้าที่การใช้งานที่ตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้บริโภคปลายทาง สามารถจัดเก็บบรรจุภัณฑ์หลังการใช้งานเพื่อนําามา หมุนเวียนทําาใหม่หรือใช้ซ้ําาได้ตามเทคโนโลยีที่เหมาะสม อีกทั้งในระหว่างการออกแบบและ พัฒนาบรรจุภัณฑ์นั้น ในบางครั้งต้องดําาเนินการควบคู่ไปกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เนื่องจาก ต้องนําาปัจจัยด้านรูปทรงผลิตภัณฑ์ ขนาดบรรจุ ระบบการบรรจุและเทคโนโลยีในการบรรจุ มาพิจารณาประกอบด้วย ทั้งนี้ปัจจัยที่ควรคําานึงในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการค้าและการ ส่งออก เช่น
• ความสามารถของบรรจุภัณฑ์ในการคุ้มครองปกป้องผลิตภัณฑ์จากความเสียหาย เชิงกล ความเสียหายเชิงกล เช่น ความเสียหายจากการเรียงซ้อน ความเสียหาย จากการตกกระแทก หรือการสั่นสะเทือนระหว่างการขนส่ง สําาหรับประเทศไทย พบวา่ การขนสง่ ผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ เกษตรไปยงั ประเทศคคู่ า้ ยงั คงประสบปญั หาสนิ คา้ เสยี หายในระหวา่ งการขนสง่ เปน็ มลู คา่ สงู และทาํา ใหส้ นิ คา้ การเกษตร กลมุ่ ผกั ผลไม้ กล้วยไม้จากแหล่งผลิตภายในประเทศไม่สามารถส่งออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ต้องมีการออกแบบองค์ประกอบภายในที่ช่วยกัน กระแทก หรือช่วยลดความเสียหายจากการเรียงซ้อน การกระแทกหรือการสั่น สะเทือนระหว่างการขนส่ง เป็นต้น
• ความสามารถของบรรจภุ ณั ฑใ์ นการปกปอ้ งผลติ ภณั ฑจ์ ากความเสยี หายเนอื่ ้ งจาก สภาวะแวดล้อม บรรจุภัณฑ์ต้องมีความสามารถในการกีดขวางต่อก๊าซ ไอนําา หรือ แสง ที่อาจมารบกวนและส่งผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้แสงแดด หรือแสงไฟ ณ ชั้นวาง หรือตู้จัดแสดงสินค้า อาจส่งผลเร่งต่อความเสียหาย สําาหรับผลิตภัณฑ์
022