Page 88 - FVC2015
P. 88
(ไม่ใช้กล่องเก็บรักษาอุณหภูมิ) และ (2) รูปแบบที่ใช้กล่องเก็บรักษาอุณหภูมิต้นแบบ ผลจาก การทดลองเมื่อระยะเวลาผ่านไป 50 นาที (ระยะทาง 60 กิโลเมตร) พิจารณาอุณหภูมิสุดท้าย ของผลิตภัณฑ์ไข่น้ําาเมื่อขนส่งในรูปแบบปัจจุบันพบว่า บริเวณตรงส่วนกลางมีอุณหภูมิ 13.4 องศาเซลเซียส และบริเวณขอบมีอุณหภูมิ 26.3 องศาเซลเซียส ส่วนรูปแบบที่ใช้กล่องเก็บ รักษาอุณหภูมิร่วมด้วยพบว่า บริเวณตรงส่วนกลางมีอุณหภูมิ 2.8 องศาเซลเซียส และบริเวณ ขอบมีอุณหภูมิ 4.3 องศาเซลเซียส แสดงให้เห็นว่ากล่องเก็บรักษาอุณหภูมิสามารถเก็บรักษา อุณหภูมิได้ต่ําากว่าแบบปัจจุบันได้ถึง 10.6 องศาเซลเซียส (วัดจากบริเวณตรงกลาง) และ 22.0 องศาเซลเซียส (วัดจากบริเวณริมขอบ) โดยอุณหภูมิภายนอก ณ วันที่ทําาการทดลองมีค่าเฉลี่ย
้
ประมาณ 33 องศาเซลเซยี ส สว่ นอณุ หภมู ขิ องไขน่ าํา ขณะอยใู่ นตเู้ ยน็ ประมาณ 2.5 องศาเซลเซยี ส
กล่องเก็บรักษาอุณหภูมิต้นแบบที่จัดทําาขึ้นมีขนาด (กว้างxยาวxสูง) 33x52x28 เซนตเิ มตร มขี อบหนาจาก 2.5 เซนตเิ มตร ซงึ่ ความหนาดงั กลา่ วไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ปรมิ าณการ บรรจุ และปรมิ าณการขนสง่ ผลติ ภณั ฑ์ โดยการขนสง่ รปู แบบเดมิ และรปู แบบทพี่ ฒั นาสามารถ บรรจผุ ลติ ภณั ฑไ์ ด้ 16-18 ถงุ (34-36 กโิ ลกรมั ) เทา่ กนั เมอื่ พจิ ารณาระยะทางสงู สดุ จากโรงงาน ทสี่ ามารถขนสง่ ผลติ ภณั ฑไ์ ปไดจ้ ากเดมิ ประมาณ 60 กโิ ลเมตร หากมกี ารปรบั ปรงุ ภาชนะบรรจุ เพื่อการขนส่งโดยใช้กล่องเก็บรักษาอุณหภูมิจะสามารถส่งผลิตภัณฑ์ไปไกลได้ประมาณ 235 กิโลเมตร (ระยะทางไกลขึ้นประมาณ 3.9 เท่า) ทําาให้สามารถขยายตลาดไปได้ไกลขึ้น และ กลุ่มลูกค้าผู้นําาไปจําาหน่ายต่อสามารถบริหารจัดการสินค้าคงคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น เนื่องจากผลิตภัณฑ์ยังคงคุณภาพดี
จากปัญหาต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้น สามารถสรุปประเด็นปัญหา แนวทางการแก้ไข และ ผลเปรียบเทียบเชิงปริมาณก่อนและหลังการแก้ไขปัญหาได้ดังแสดงในตารางที่ 3.10
080