Page 15 - Annual Report 2016
P. 15
Climate change adaptation
พร้อมเสมอ
เมื่อภัยมา
“ปรับตัว เรียนรู้ อยู่ร่วมระหว่างธรรมชาติและชุมชนอย่างยั่งยืน”
สัญญาณเตือนที่ไม่อาจมองข้าม เมื่อไม่มีฝน โลกนี้จึงร้อนขึ้น
ปี 2004 พิบัติภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิบริเวณชายฝั่งอันดามัน
ของประเทศไทย ถือเป็นความเสียหายที่เป็นผลพวงมาจากการ “โลกที่ไม่มีฝน ช่างทรมานเหลือเกิน”
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เด่นชัดที่สุดเป็นครั้งแรก “ถ้าคุณยังไม่ปรับตัว ฝนก็จะยังไม่กลับมา”
และแน่นอนว่า
นั่นจะไม่ใช่ครั้งสุดท้าย... นี่มิใช่บทสนทนาระหว่างตัวละครในนิยายรัก หากแต่ก�าลังหมายถึง
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศของโลกในปัจจุบัน
แม้จะเกิดขึ้นเพียงชั่วพริบตา แต่คลื่นยักษ์สึนามิ ก็ยังให้เกิดความ
สูญเสียชีวิตมากมายอย่างมิอาจจะประเมินค่าได้ แม้ทุกวันนี้ ด้วยตระหนักถึงพิบัติภัยทางธรรมชาติอันเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน
การฟื้นฟูทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรทางธรรมชาติก็ยังคง ที่ก�าลังส่งผลกระทบต่อทุกชีวิตในขณะนี้ รักษ์ไทย ร่วมกับพันธมิตร
ด�าเนินไปอย่างต่อเนื่อง จากหลายภาคส่วน ทั้งสถาบันสิ่งแวดล้อมและความมั่นคงของมนุษย์
มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ (UNU-EHS) องค์การแคร์นานาชาติ
รักษ์ไทยและองค์การแคร์นานาชาติ จึงร่วมกันจัด โครงการเพื่อสร้าง พร้อมทั้งการสนับสนุนจากกลุ่มแอกซ่า มูลนิธิจอห์น ดี. และแคทเธอ
ความรู้ ความเข้าใจถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ รีน ทีแมคอาเธอร์ ในการจัดโครงการศึกษาการแปลี่ยนแปลงปริมาณ
อากาศ ที่มีต่อวิถีชุมชน ในพื้นที่ภาคใต้ที่ได้รับผลกระทบจากคลื่น ฝนที่มีผลกระทบต่อชุมชน ความมั่นคงทางอาหาร การด�ารงชีวิต
ยักษ์สึนามิ อาทิ ชุมพร นครศรีธรรมราช กระบี่ ตรัง ตลอดจน และการย้ายถิ่นของสิ่งมีชีวิต ผ่านกรณีศึกษาใน 8 ประเทศ ได้แก่
จังหวัดสุราเวสี ในประเทศอินโดนีเซียที่ได้รับความเสียหายอย่างหนัก บังกลาเทศ กานา กัวเตมาลา อินเดีย เปรู แทนซาเนีย ไทย และ
จากพิบัติภัยดังกล่าว เวียดนาม
ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการจะได้รับความรู้ร่วมกับข้อมูลทาง ส�าหรับประเทศไทย รักษ์ไทย ประสานความร่วมมือกับ
วิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ในกระบวนการวิเคราะห์ ก�าหนดยุทธศาสตร์ และ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดโครงการศึกษาวิจัย
เตรียมพร้อมส�าหรับภัยพิบัติทางธรรมชาติ อันเนื่องมาจากการ ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน เริ่มจากจังหวัดล�าพูน พร้อมแนวคิดใน
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีกอย่างมี การขยายพื้นที่ศึกษา ณ จังหวัดอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน
ประสิทธิภาพ รวมทั้งการฟื้นฟูและการพัฒนาทรัพยากรทาง อย่างเชียงใหม่ และน่าน จากพิบัติภัยดังกล่าว
ธรรมชาติทั้งในระยะสั้นและระยะยาวจังหวัดสุราเวสี ในประเทศ
อินโดนีเซียที่ได้รับความเสียหายอย่างหนักจากพิบัติภัยดังกล่าว
ข้อมูลพร้อม ใจพร้อม เราท�าได้
มูลนิธิรักษ์ไทย 14