Page 17 - Annual Report 2016
P. 17

Health of migrant and their children


                                                หยุดเสี่ยง เลี่ยง เอชไอวี




                                                        วัณโรค มาลาเรีย









       “ผสานความร่วมมือ เพื่อป้องกันและรักษาอย่างเข้าใจ”


       เอดส์ วัณโรค มาลาเรีย                                   หลายครั้งหลายหนที่ผู้หญิงกลุ่มนี้โดนตราหน้าว่าส�าส่อน

                                                               หลายครั้งหลายคราวที่พวกเธอถูกบังคับให้ท�าหมันหรือห้ามไม่
       สามวายร้าย ที่ใครๆ ก็กลัว                               ให้มีลูก ผู้หญิงกลุ่มนี้ จึงถือเป็นกลุ่มเปราะบางที่ไม่เพียงจะต้องต่อสู้


       เพื่อช่วยให้คนในสังคมหลุดพ้นจากความกลัว ความเชื่อผิด ๆ และ  กับโรคภัยไข้เจ็บในตนเอง  แต่ยังต้องทนทุกข์ทรมานจากอคติ
       พฤติกรรมเสี่ยงต่าง  ๆ  ที่จะน�าไปสู่การแพร่กระจายโรคทั้ง                 และการแบ่งแยกกีดกันของเพื่อนร่วมสังคม  อันมีเหตุมาจาก

       สามโครงการ รณรงค์ให้ความรู้ในการป้องกันและรักษาโรคเอดส์   ความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการรับเชื้อเอชไอวีและการอยู่ร่วม
       วัณโรคและมาลาเรียจึงถือก�าเนิดขึ้น                      กับผู้มีเชื้อเอชไอวี

       รักษ์ไทย ให้ความส�าคัญกับการประสานความร่วมมือกันระหว่างมี     รักษ์ไทย เชื่อว่าไม่มีใครอยากเป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวี

       ผู้ส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้ทุกคนสามารถ เข้าถึงบริการและคงอยู่ใน
       การรักษาได้อย่างเป็นระบบ  นอกจากนี้รักษ์ไทยยังตระหนักถึง      โครงการเสียงและทางเลือก ถือก�าเนิดขึ้นเพื่อรวบรวมปัญหาของ
       ความส�าคัญในการให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยง อย่างแรงงานข้ามชาติ     ผู้หญิงที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี รวมทั้งผู้ชายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

       ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด ผู้ต้องขัง พนักงานบริการหญิงและชาย     กับการท�างานเพื่อผู้ติดเชื้อ ในจังหวัดเชียงใหม่และพะเยา เพื่อน�า
       กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย และสาวประเภทสอง และผู้สูงอายุ  เสนอปัญหาของพวกเธอสู่การพัฒนานโยบาย  อันจะน�าไปสู่
                                                               การสร้าง ทางเลือก ให้กับผู้หญิงกลุ่มนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
       “แรงงานข้ามชาติ คือ พลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ส�าคัญ     ตลอดจนการรณรงค์ระดับสาธารณะ  ในการสร้างความรู้

       ของประเทศ  สุขภาพของพวกเขาก็ส�าคัญไม่น้อยไป             ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคเอดส์  อนามัยเจริญพันธุ์

       กว่ากัน”                                                และทัศนคติทางเพศ ไปจนถึงการลดอคติที่มีต่อกลุ่มผู้หญิงที่ติด
                                                               เชื้อเอชไอวี เพื่อให้พวกเธอได้อยู่ร่วมกับทุกคนในสังคมได้อย่าง
      ขยายเสียง ขยายโอกาส                                      มีความสุข



      ในปัจจุบัน กว่าครึ่งของผู้ติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทยเป็นผู้หญิง
      มิหน�าซ�้ายังมีแนวโน้มที่จะมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เนื่องจากการขาด

      ความรู้ด้านสุขภาวะทางเพศและ ความเข้าใจในการปกป้องตนเองผ่าน
      การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย หรือแม้จะรู้และเข้าใจ แต่ผู้หญิงก็ยัง
      ขาดอ�านาจในการต่อรองเรื่องเพศกับคู่ของตนอยู่ดี หลายคน

      ไม่กล้าบอกกับใคร ๆ ว่าตนเองมีเชื้อเอชไอวี ด้วยเกรงว่าจะถูก
      ทอดทิ้ง





                                                                                               มูลนิธิรักษ์ไทย   16
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22