Page 16 - Annual Report 2016
P. 16
โครงการดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อน�าผลจากกรณีศึกษาที่ได้รับ “ภัยธรรมชาติที่เพิ่มขึ้น ท�าให้ชุมชนต้อง
มาใช้ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจและส่งเสริมให้ชุมชนและภาครัฐ
ตระหนักถึงความส�าคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ เตรียมพร้อมรับมืออย่างสร้างสรรค์ เพื่อ
อากาศ และมีความสามารถปรับตัว เรียนรู้และอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ให้ทุกชีวิตอยู่รอดได้โดยไม่ท�าร้าย
ได้อย่างยั่งยืนผ่านเครื่องมือต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การท�าแผนพัฒนา
ชุมชน การจัดการระบบน�้า การพัฒนาแหล่งต้นน�้าและการเกษตร ธรรมชาติ”
อันเป็นแหล่งรายได้หลักของชุมชน ตลอดจนการจัดการที่ดินโดย
ระบบ GIS เป็นต้น เริ่มต้นที่เรา ที่ครอบครัวเรา ที่ชุมชนของเรา แล้ว “ฝน” ก็จะมาให้
เราเห็นบ่อยๆ เหมือนในอดีตอีกครั้ง
ดังนั้น เครื่องมือทุกชิ้นที่ถ่ายทอดและส่งผ่านไปยังชุมชน จึงมีความ
น่าเชื่อถือ ผ่านการวางแผนและออกแบบเป็นขั้นเป็นตอน ทั้งยั้ง เกษตรกร 345 คนได้รับการพัฒนา
ศักยภาพโดยตรง เกิดเกษตรกร
สามารถพิสูจน์ได้ตามหลักวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ชุมชนสามารถน�าไป ตัวอย่างกว่า 99 คน
ประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ได้รับผลประโยชน์โดยรวม
“เมื่อเรียนรู้การบริหารจัดการน�้าอย่างเป็น ในจังหวัดเชียงใหม่ 5,827 คน
และจังหวัดน่าน 1,102 คน
ระบบ แหล่งต้นน�้า ดินและทรัพยากรก็ฟื้นคืน
ความอุดมสมบูรณ์อีกครั้ง มิใช่เพียงตัวเรา สร้างชุมชนที่มีส่วนร่วมในการฟื้นฟู
ดูแลทรัพยากรธรรมชาติกว่า 73
หากแต่ลูกหลานของเราและสรรพสัตว์ทั้ง หมู่บ้านในจังหวัดกระบี่ ระนอง พังงา
นครศรีธรรมราช และตรัง
หลายก็ได้รับประโยชน์ด้วยเช่นกัน”
15 รายงานประจ�าปี 2558