Page 43 - ลง E book - สำเนา
P. 43
หลังจากการศึกษาโดยอาศัยข้อมูลประวัติแนวโน้มที่เกิดการขัดข้อง ช ารุด ที่มากพอสมควร
แล้ว จะสามารถทราบได้ว่า ชิ้นส่วนต่างๆ ในเครื่องจักรแต่ละชนิดต้องการเวลาที่เหมาะสมส าหรับการ
ตรวจสภาพและซ่อมเปลี่ยนของแต่ละเครื่องจักรต่อไป
การก าหนดช่วงเวลาส าหรับการตรวจสภาพอากาศแบ่งเป็น
1 สัปดาห์ 3 เดือน 1 ปี
4 สัปดาห์ 6 เดือน 2 ปี
ซึ่งที่ต้องเน้นหนักในเรื่องเวลาก่อนเหตุขัดข้องของชิ้นส่วนก็คือ ภาวะแวดล้อมและสภาพการ
ท างานของเครื่องจักร ซึ่งมีผลอย่างมากต่อช่วงเวลาก่อเหตุขัดข้องและมักมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
การเก็บสถิติโดยเฉพาะในเรื่อง “การเฉลี่ยการขัดข้อง” (Mean Time Between Failure’MTBF)
จะต้องท าแบบต่อเนื่องกันไปเพื่อน ามาใช้ปรับปรุงช่วงเวลาการตรวจสภาพให้เหมาะสมกับเหตุการณ์
2. การใช้กรรมวิธีและเครื่องมือตรวจสภาพ (Inspection method)
รูปที่ 21 การถ่ายภาพความร้อน
(ที่มา : บริษัท เทอร์โมสแกน จ ากัด. 2561.
สืบค้นจาก : http://www.thermoscan.co.th/Thermal%20Imaging.html)
รูปที่ 22 การใช้เครื่องมือตรวจสภาพแบริ่ง
(ที่มา : บริษัท อคูสโตเมติก จ ากัด. 2561. สืบค้นจาก : www.Acoustomatic.com)