Page 47 - ลง E book - สำเนา
P. 47

- การวัดความขรุขระของผิว (surface roughness)
                              - การวัดความหนา
                              - การวัดความขนานระหว่างผิวหน้า 2 ผิว (parallelity)
                              - การวัดความตรง (straghtness)

                              - การวัดแนวศูนย์ติดตั้งเครื่องจักร
                              - การวัดมุม (angle) ระหว่างผิว 2 ผิว
                              ข้อมูลจากการวัดดังกล่าวข้างต้น จะช่วยให้สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุของการช ารุดหรือหา
                       แนวโน้มของการช ารุดได้มากขึ้น

                              2. การตรวจสอบสภาพโดยไม่ต้องท าลาย










                                            รูปที่ 26 การตรวจรอยร้าวโดยใช้คลื่นอัลต้าโซนิก
                                                  (ที่มา : วิทยา  ฐิติวรารักษ์. 2561.
                             สืบค้นจาก  : http://ultrasonicflawdetector.blogspot.com/?view=magazine)












                                               รูปที่ 27 การใช้เส้นแรงแม่เหล็กหารอยร้าว
                            (ที่มา : หน่วยวิจัยอคูสติกอิมิชชั่นและการทดสอบโดยไม่ท าลายขั้นสูง (KMUTT). 2561.

                          สืบค้นจาก  : http://www.siwatesting.net/?portfolio_page=art-week-2014-malmo)

                              วิธีการตรวจสภาพแบบนี้ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการหาแนวโน้มการช ารุดของชิ้นส่วน โดยเฉพาะ
                       ส าหรับชิ้นส่วนที่ถอดออกได้ยาก หรือไม่สามารถตรวจสภาพภายในได้ด้วยการมองเห็น นอกจาก
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52