Page 14 - การบูรณาการคุณค่าพระวรสาร
P. 14

การหาผลคูณเอกนามกับเอกนาม ท าได้โดย น าสัมประสิทธิ์ในแต่ละเอกนามมาคูณกันและน าตัวแปรใน

               แต่ละเอกนามมาคูณกันตามหลักการคูณเลขยกก าลัง
                       เอกนามสามารถหารกันได้ด้วยหลักการนี้  ผลหารของเอกนาม = (ผลหารของสัมประสิทธิ์)×(ผลหารของ

               ตัวแปรแต่ละตัว)

                       พหุนาม คือ นิพจน์ที่เขียนในรูปเอกนามหรือเขียนในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป
                       ในพหุนามใดๆ เรียกแต่ละเอกนามที่อยู่ในพหุนามว่า พจน์ (term) ของพหุนาม และกรณีที่พหุนามนั้นมี

               เอกนามที่คล้ายกัน เรียกเอกนามที่คล้ายกันว่า พจน์ที่คล้ายกัน (like terms)
                       ในกรณีที่พหุนามมีพจน์บางพจน์ที่คล้ายกัน สามารถรวมพจน์ที่คล้ายกันเข้าด้วยกัน เพื่อท าให้พหุนามนั้น

               อยู่ในรูปที่ไม่มีพจน์ที่คล้ายกันเลย เรียกพหุนามที่ไม่มีพจน์ที่คล้ายกันเลยว่า พหุนามในรูปผลส าเร็จ และเรียกดีกรี

               สูงสุดของพจน์ของพหุนามในรูปผลส าเร็จว่า ดีกรีของพหุนาม
                       การหาผลบวกของพหุนาม  ท าได้โดยน าพหุนามมาเขียนในรูปการบวกและถ้ามีพจน์ที่คล้ายกัน ให้บวก

               พจน์ที่คล้ายกันเข้าด้วยกัน
                   การลบพหุนามด้วยพหุนาม  ท าได้ โดยบวกพหุนามตัวตั้งด้วยพจน์ตรงข้ามของแต่ละพจน์ของพหุนามตัวลบ

                   การคูณพหุนามด้วยพหุนาม ท าได้โดยการคูณทีละตัวของพหุนามตัวตั้งกับพหุนามตัวคูณและน าผลคูณมา

               บวกกัน ซึ่งสามารถท าโดยการคูณในแนวนอนและแนวตั้ง
                   การหารพหุนามนามด้วยเอกนาม  ท าได้โดยหารแต่ละพจน์ของพหุนามด้วยเอกนาม  แล้วน าผลหารเหล่านั้น

               มาบวกกัน  และเมื่อได้ผลหารเป็นพหุนาม  จะกล่าวว่าการหารนั้นเป็นการหารลงตัว  ซึ่งเป็นไปตามความสัมพันธ์

               คือตัวหาร   ผลหาร   ตัวตั้ง
               5. สาระการเรียนรู้

                 5.1 ความรู้  (Knowledge)
                   1) ความหมายของเอกนามและพหุนาม สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามและพหุนาม

                   2) การหาบวก ลบ คูณและหารเอกนาม

                         3)  การบวก ลบ คูณและหารพหุนาม
                 5.2 ทักษะกระบวนการ

                       1)  ทักษะการแก้ปัญหา
                       2)  ทักษะการให้เหตุผล

                       3)  ทักษะการคิดแปลความ การตีความหมาเชื่อมโยงและสื่อความหมายคณิตศาสต  ์

                 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ / สมรรถนะ
                       1. มีวินัยและรับผิดชอบ

                       2. มีความสามารถในการแก้ปัญหา

                         3. มีความเชื่อมั่นในตนเอง  ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชา
                              คณิตศาสตร์
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19