Page 10 - การเหยียดกล้ามเนื้อ
P. 10
2
เป2นที่รู,จักกันอยCางดี สําหรับการยืดเหยียดกล,ามเนื้อ (Stretching muscle) ถือเป2นสิ่งสําคัญในการที่ จะต,องทํากCอนและหลังการเลCนกีฬาหรือออกกําลังกายเสมอ การยืดเหยียดกล,ามเนื้อที่ดีจะชCวยให,เอ็น ข,อตCอ และเส,นใยกล,ามเนื้อได,รับการยืดเหยียด และเพิ่มมุมการเคลื่อนไหวให,กว,างขึ้น อีกทั้งยังชCวยเสริมสร,างความ แข็งแรงของกล,ามเนื้อ ระบบหัวใจ ระบบการไหลเวียนโลหิต เพิ่มความอCอนตัวหรือยืดหยุCนตัว ซึ่งจะทําให, สามารถชCวยลดอาการตึง การเกร็งของกล,ามเนื้อ การฉีกขาดของเส,นใยกล,ามเนื้อ และลดอาการบาดเจ็บ กล,ามเนื้อลง การยืดเหยียดกล,ามเนื้อสCวนตCาง ๆ จะทําในชCวงการอบอุCนรCางกาย (Warm up) ให,มีความพร,อม ในการทํากิจกรรม และชCวงของการผCอนคลาย (Cool down) ให,กลับคืนสภาพเดิมเร็วขึ้น ดังนั้นในการเลCน กีฬา ออกกําลังกายหรือแม,แตCการทํากิจกรรมตCาง ๆ ให,เกิดประสิทธิภาพของงานมากที่สุด จึงควรทําการยืด เหยียดกลา, มเนื้ออยCางสม่ําเสมอ และถูกหลักการของการยืดเหยียดกล,ามเนื้อ
เอกสารการยืดเหยียดกล,ามเนื้อเลCมนี้ ได,แบCงการยืดเหยียดกล,ามเนื้อออกเป2น 2 กลุCม คือ กลุCม กล,ามเนื้อมัดใหญC และกลุCมกล,ามเนื้อมัดเล็ก โดยมีการผสานการยืดเหยียดกล,ามเนื้อแบบมีการเคลื่อนไหวใน สCวนที่ต,องการยืด (Dynamic stretching) คือการเคลื่อนไหวของแขน ขา ลําตัว อยCางช,า ๆ ไปจนสุดมุมของ การเคลื่อนไหว โดยไมCมีการใช,แรงเหวี่ยงหรือการขยCมโยกลําตัว และการยืดเหยียดกล,ามเนื้อแบบออกแรง กระทําด,วยตนเอง (Active Stretching) คือการยืดเหยียดกล,ามเนื้อโดยคงทCาทางที่ทําการยืดเหยียดนั้นไว, ตามระยะเวลาที่กําหนด การยืดเหยียดกล,ามเนื้อทั้ง 2 แบบนี้จะชCวยเพิ่มความอCอนตัวและความแข็งแรง ขณะปฏิบัติการเคลื่อนไหว
[2]