Page 35 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 35

32





              เทคนิคความส าเร็จ
                       ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นผู้รับผิดชอบระบบ
              บ าบัดน้ าเสีย ให้เห็นถึงประโยชน์จากการด าเนินงานในครั้งนี้

                       สร้างความร่วมมือของหน่วยงานในพื้นที่ โดยการร่วมปฏิบัติงาน และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในการ
              ปฏิบัติงาน ท าให้เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน




              ชื่อเรื่อง (องค์ความรู้)  การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านการจัดการน้ าเสีย

              ผู้เขียน/ผู้จัดท า
                     1. นางสาวบุษบา อบอาย นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช านาญการพิเศษ
                        สังกัดกองพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อม

                     2. นางสาวสุภาพันธ์ สังข์คร นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช านาญการ
                         สังกัดกองพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อมฃ

              สาระส าคัญ

                     ปัจจุบันคุณภาพของแหล่งน้ าหลายแห่งของประเทศก าลังเผชิญกับปัญหาวิกฤตน้ าเสีย และมีแนวโน้ม ที่จะทวี
              ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่น้ าทิ้งซึ่งเกิดจากกิจกรรมต่างๆ เช่น น้ าจากบ้านเรือน อาคาร ที่พักอาศัย โรงแรม
              โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม ยังขาดการบ าบัดให้ได้เกณฑ์มาตรฐาน ก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ ท าให้แหล่ง
              น้ าตามธรรมชาติได้รับความเสียหายก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ า ซึ่งไม่เพียงแต่จะเกิดผลกระทบกับการ

              ด าเนินชีวิตโดยตรง แต่ยังก่อให้เกิดปัญหาด้านอื่นๆ ตามมา เช่น ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ท าให้เกิดความร าคาญ
                     จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงาน ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องต้องเร่งด าเนินการแก้ไขปัญหาน้ าเสีย กรมส่งเสริมคุณภาพ
              สิ่งแวดล้อม โดยกองพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อม เล็งเห็นถึงความส าคัญดังกล่าว จึงได้มีแนวคิดในการ
              เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรด้านการจัดการน้ าเสีย โดยได้ด าเนินการจัดฝึกอบรมหลักสูตรการจัดการน้ าเสียขึ้นเป็น

              ประจ าทุกปี ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องระบบบ าบัดน้ าเสียอย่างเป็นรูปธรรม

                     ผลลัพธ์ (Output)

                     การน าไปใช้ประโยชน์ในส่วนของผู้ผ่านการฝึกอบรม ได้แก่
                     1. ผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถน าความรู้เกี่ยวกับการจัดการน้ าเสียไปปรับใช้ภายในหน่วยงาน และในฐานะ
              ที่ตนเองรับผิดชอบ บางแห่งสามารถน ามาเป็นศูนย์เรียนรู้การจัดการน้ าเสีย ทั้งชุมชนชนบทและชุมชนเมือง เป็นสถานที่ดู
              งาน มีการเข้าเยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้ฯ อย่างต่อเนื่อง ประชาชนในพื้นที่สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ด าเนินการ และ
              สามารถเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง เช่น กรณีของนายพินิตร์ สุวรรณภาญกูร  ผู้จัดการอาคารชุดดิ เอ็มโพริ

              โอ เพลส เขตคลองเตย กรุงเทพฯ หรือ คอนโดมิเนียม ดิ เอ็มโพริโอ เพลส  ในซอยสุขุมวิท 24 พื้นที่เขตคลองเตยอยู่บน
              พื้นที่ 5 ไร่ 2 งาน 62 ตารางวา ประกอบด้วย  3 อาคาร คือ  Tower North มี 35 ชั้น, Tower East มี 42 ชั้น และ
              Tower South มี 12 ชั้น   มีจ านวนยูนิตทั้งหมด 361 ยูนิต
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40