Page 40 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 40
37
สิ่งแวดล้อม ที่มีระบบบ าบัดน้ าเสียส าหรับการน าน้ าทิ้งกลับมาใช้ใหม่ด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบเมนเบรน หรือระบบการ
ใช้พืชน้ าบางชนิดในการบ าบัดน้ าเสียขั้นต้น และการเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กองทุนสิ่งแวดล้อม เพื่อมาให้ข้อมูล
และการขอทุนเพื่อก่อสร้างระบบบ าบัดน้ าเสียก็สามารถท าได้ตลอด 2-3 ปีที่ผ่านมา เราสามารถเชื่อมโยงเครือข่าย
วิทยากรด้านการจัดการน้ าเสีย และให้ค าแนะน ากับการจัดการฝึกอบรมในหลักสูตรนี้ รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรการ
จัดการน้ าเสียให้ได้ผลอย่างเป็นรูปธรรม
3. บุคลากรของกองพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อม ทราบวิธีการเกิดน้ าเสีย และสามารถปฏิบัติตนโดย
การใช้น้ าอย่างประหยัด รู้วิธีการล้างจาน ชามที่ละเอียดขึ้น เช่น การกวาดล้างเศษอาหารก่อนการล้าง การเร่งเปลี่ยน
ครุภัณฑ์ประหยัดน้ า การติดตั้งถังดักไขมัน การมีความตระหนักรู้ด้านสิ่งแวดล้อม สามารถน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน
ของตนเองได้
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมมีโครงการต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันตั้งแต่โครงการประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
โครงการจัดการขยะ Zero Waste ที่มองประเด็นด้านขยะ แต่ขยะต้นทางบางอย่างเป็นขยะอินทรีย์ หากจัดการไม่ถูกวิธี
ทิ้งลงแม่น้ าล าคลอง ท าให้คูคลองสกปรก น้ ากลายเป็นน้ าเสียได้ โครงการส านักงานสีเขียว (Green Office) ที่จัดการ
สิ่งแวดล้อมครอบคลุมทุกมิติ การจัดการน้ าเสียก็เป็นอีกหนึ่งองค์ความรู้ที่บุคลากรของกองพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้าน
สิ่งแวดล้อมต้องทราบว่า น้ าเสียมาจากไหน มีวิธีการจัดการอย่างไร ซึ่งที่ได้ปฏิบัติจนเป็นแนวปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง มีการ
ติดตั้งถังดักไขมันก่อนระบายน้ าออกสู่ระบบบ าบัดรวม และมีการตรวจวัดคุณภาพน้ า ซึ่งช่วยป้องกันการอุดตันได้ การใช้
น้ าอย่างประหยัด การเปลี่ยนก๊อกน้ าทันทีเมื่อก๊อกน้ าเสีย ท่อน้ าแตกหรือรั่ว ต้องแจ้งผู้เกี่ยวข้องด าเนินการทันที ประโย
ชนที่ได้รับนอกจากความตระหนักรู้ และจิตส านึกด้านสิ่งแวดล้อมแล้ว ต้องลงมือปฏิบัติด้วย กรณีการจัดการเศษอาหาร
ของกองพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อม มีการท าปุ๋ยหมักที่เหลือทิ้งจากการบริโภคในแต่ละวัน รวมถึงการจัดเลี้ยง
อาหารผู้เข้ารับการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตร สามารถน ามาท าเป็นปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้ไปปลูกต้นไม้ในบริเวณ
สถานีเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ของกองพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อม