Page 45 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 45

42





                     3. การวิเคราะห์ผลข้อมูลการตรวจวัด
                        - ตรวจสอบข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นสารมลพิษระหว่างการตรวจวัด สอบถามพูดคุยกับ
              ประชาชนในพื้นที่ถึงแหล่งก าเนิดมลพิษที่เป็นไปได้ทั้งกิจกรรมของชุมชน การเผา อุตสาหกรรม การจราจร รวมถึง
              พิจารณาสภาพอุตุนิยมวิทยา เช่น ทิศทางและความเร็วลม ตั้งสมมติฐาน และส ารวจพื้นที่โดยรอบหาปัจจัยที่สอดคล้อง

              หรือส่งผลให้ค่าความเข้มข้นเพิ่มขึ้นหรือลดลง
                        - วิเคราะห์ผลเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เช่น ไม่ท าการ
              เปรียบเทียบผลการตรวจวัดของ PM2.5 รายชั่วโมงเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานเฉลี่ย 24 ชั่วโมง

                        - วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเชิงเวลาของค่าความเข้มข้นของสารมลพิษ รวมถึงสาเหตุที่เกี่ยวข้อง


















                        - วิเคราะห์เชิงพื้นที่เพื่อหาแหล่งที่มาของมลพิษ หรือหาพื้นที่ที่ได้รับมลพิษจากแหล่งก าเนิด





















              ผลลัพธ์ (Output)
                       หน่วยงานในพื้นที่สามารถทราบถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศในพื้นที่ว่ามีค่าสูงหรือต่ ากว่าค่ามาตรฐาน
              คุณภาพอากาศในบรรยากาศของพื้นที่ตนเอง และของประเทศไทย นอกจากนี้ยังสามารถน าไปใช้วางแผนแก้ไขปัญหา

              มลพิษทางอากาศ ในพื้นที่ได้
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50