Page 50 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 50
47
ขั้นตอน/กระบวนการท างาน
1. เชื่อมร้อยหุ้นส่วนความร่วมมือ ท างานกับภาคธุรกิจเอกชน
ศึกษาข้อมูลและรูปแบบการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัคร วางกรอบการด าเนินโครงการ ลงพื้นที่ประสานงาน
รวบรวมข้อมูลพื้นที่ป่า/ชุมชน เครือข่ายอาสาสมัคร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จัดล าดับ
ความส าคัญ และก าหนดแนวทางการคัดเลือกพื้นที่บูรณาการความร่วมมือ เพื่อพัฒนาพื้นที่เรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
(พื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย และพื้นที่โดยรอบ)
การชวนพูดคุยกับหน่วยงานในพื้นที่ ปม. ทส. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรชุมชนในพื้นที่
เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและสนับสนุนกิจกรรม 9 จังหวัดภาคเหนือในพื้นที่ รวมถึงการขยายผล
รูปธรรมความร่วมมือ (ดอยสุเทพ-ปุย โมเดล) และเสริมศักยภาพไปสุ่เครือข่าย ทสม. ทั้ง 9 จังหวัดภาคเหนือ (ทสม.
ล้านนา) ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นฃ
ยกระดับการท างานสู่การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในองค์รวม ขยายผลการท างานให้เข้าไป
มีบทบาทส าคัญในการเฝ้าระวัง อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เช่น การจัดการขยะ
มูลฝอยและการอนุรักษ์และฟื้นฟูล าน้ าแม่ซ่า ธนาคารกิ่งไม้ใบไม้เพื่อชุมชน การลดขยะต้นทาง ประเพณีเตียวขึ้นดอย
ภายใต้แนวคิด “เส้นทางบุญ ปลอดขยะ” เป็นต้น
2. สร้างความรับผิดชอบร่วมระหว่างคนบนดอยกับคนเมือง
จัดเวทีระดมความคิดเห็น สรุปบทเรียนการพัฒนาเครือข่าย เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์บนพื้นฐาน
องค์ความรู้ ประสบการณ์จริงแต่ละพื้นที่ และระดมความคิดเห็นการวางแผนการด าเนินงานที่สอดรับการท างานของ
ทุกภาคส่วน
สื่อสารสู่สาธารณะ และจัดท าสื่อเผยแพร่ ส าหรับการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและการด าเนินงานของ
เครือข่ายอาสาสมัครเฝ้าระวังไฟป่า ลดหมอกควัน โดยผ่านสื่อและช่องทางเพื่อสร้างความเข้าใจและสร้างความรับผิดชอบ
ร่วมกัน ดังนี้
เผยแพร่คู่มือ โปสเตอร์ ป้ายรณรงค์ นิทรรศการหมอกควัน เพื่อรณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจของ
ประชาชนในพื้นที่ด าเนินการและพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ
จัดท าสื่อมัลติมีเดียสารคดีสั้น เผยแพร่ผ่านทางสื่อโทรทัศน์ และ Youtube : อาสาสมัครเฝ้าระวังไฟป่าลด
หมอกควัน
เว็บไซต์ www.deqp.go.th
โซเชียลมีเดีย เช่น Facebook, Line : Arsa4thai อาสาจัดการไฟป่า, เครือข่ายฯ อาสาไฟป่า, เครือข่าย
ทสม. ล้านนา ผ่านการบอกต่อกดไลท์ กดแชร์ และการประชุม ซึ่งเป็นช่องทางการสื่อสารที่รวดเร็ว ฉับไว สามารถ
รายงานผล แสดงความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ ตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่ได้จากการประชาสัมพันธ์หรือเผยแพร่
ดังกล่าวได้
3. สร้างการมีส่วนร่วมของผู้น า และขยายแนวคิดในการท างาน รวมถึงสร้างความเชื่อมั่นในการด าเนินกิจกรรม
ร่วมกัน
ขยายแนวคิดในการท างาน ผ่านกลุ่มแกนน ากลุ่มคนไทยชาติพันธุ์ม้ง ซึ่งเริ่มก่อรูปชุมชนที่มีความเข้มแข็ง
รวมตัวกันเป็น เครือข่ายสิ่งแวดล้อมม้ง ดอยสุเทพ-ปุย ตั้งแต่มี 2558 จากจ านวน 5 หมู่บ้าน และขยายแนวคิดไปสู่ชุมชน