Page 51 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 51

48





              อื่นๆ เป็น 12 หมู่บ้าน จนสามารถเป็นประเด็นส าคัญในการท างานและสามารถต่อยอดแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อม
              สู่เครือข่ายชาติพันธุ์ม้งระดับประเทศ หรือ “สมัชชาเครือข่ายสิ่งแวดล้อมม้ง” ซึ่งประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ได้รับ
              การบรรจุเป็นวาระส าคัญในการประชุมประจ าปีมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2560 จนถึงปัจจุบัน
                     สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ  เพื่อสร้างความมั่นใจให้สังคมและหน่วยงานในการเป็นทางเลือกเพื่อร่วม

              เฝ้าระวังไฟป่าและหมอกควันอย่างยั่งยืน

              ผลลัพธ์ (Output)

                     โดยผลของการดาเนินการที่ผ่านมา ส่งผลให้คุณภาพอากาศในพื้นที่ดาเนินการดีขึ้น ประชาชนเกิดความ
              ตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วม ด าเนินงานช่วยเจ้าหน้าที่ดูแลไฟป่าในพื้นที่ เกิดการรวมกลุ่มในระดับหมู่บ้าน ระดับ
              เครือข่าย และร่วมขยายแนวเครือข่ายในการด าเนินการมากยิ่งขึ้น รวมถึงยกระดับพัฒนาเป็นพื้นที่รูปธรรม ซึ่งในปี พ.ศ.
              2559 – 2561 ขยายผลการด าเนินการ พัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครฯ ในพื้นที่บูรณาการความร่วมมือ จากดอยสู่ดอย จาก
              พื้นที่ดอยสุเทพ – ปุย สู่ ดอยอินทนนท์ และพื้นที่โดยรอบ จังหวัดเชียงใหม่ ดอยพระบาท – ม่อนพระยาแช่ จังหวัด

              ล าปาง และพื้นที่ลุ่มน้าลี้ อาเภอทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน เกิดพื้นที่เรียนรู้และศูนย์เรียนรู้หมู่บ้านต้นแบบปลอดการเผา 29
              แห่ง ในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ เกิดการเชื่อมประสานต่อประเด็นทรัพยากรอื่นๆ เช่น การจัดการขยะ (ประเพณีเตียว
              ขึ้นดอยสุเทพ “เส้นทางบุญ ปลอดขยะ) ใบไม้ ลดการเผาในที่โล่ง การอนุรักษ์และฟื้นฟูสายน้ า ล าคลอง การท าฝาย

              ชะลอน้าสร้างความชุ่มชื่นแก่ผืนป่า เป็นต้น และในปี 2562 นี้ ขยายผลรูปแบบและกระบวนการเสริมสร้างเครือข่าย ไป
              ยังพื้นที่อื่นทั้ง 9 จังหวัดในภาคเหนือ
                     นอกจากนี้พื้นที่บูรณาการความร่วมมืออุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย และพื้นที่โดยรอบ จังหวัดเชียงใหม่
              (สุเทพ-ปุย โมเดล) ยังได้รับรางวัล “ความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม” ประจ าปี พ.ศ. 2560

              ประเภทรางวัลพัฒนาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ระดับดีเด่น และได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาการบริหารราชการ
              แบบมีส่วนร่วม ประจ าปี พ.ศ. 2561 ประเภทรางวัล ผู้นาหุ้นส่วนความร่วมมือ (Engaged Citizen) ระดับดีเด่น จาก
              ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ซึ่งเป็นรูปธรรมความส าเร็จที่เกิดจากการท างานด้วยความร่วมมือของ
              เครือข่ายภาคประชาชนและภาคีหลายภาคส่วน ถือเป็นกรณีตัวอย่างความร่วมมือของหลายภาคส่วน

              เทคนิคความส าเร็จ
                     การแก้ไขปัญหาวิกฤติปัญหาหมอกควัน ไฟป่าในพื้นที่ภาคเหนือ ที่เป็นประเด็นท้าทาย ต้องสร้างความเข้าใจ
              ร่วมปรับทัศนคติ และสื่อสารการด าเนินงานระหว่างชุมชนในพื้นที่ต่างๆ หน่วยงานภาครัฐ และสังคมภายนอก ส่งผลให้
              ทุกภาคส่วนเกิดทัศนคติที่ดีต่อกันยิ่งขึ้น “เปลี่ยนความขัดแย้งเป็นความร่วมมือ” ยกระดับการท างานที่ “ซ้ าซ้อน” กัน

              ให้เป็นการ “ซ้ าเสริม” เติมเต็มซึ่งกันและกัน หนุนชุมชนให้เป็นผู้ปฏิบัติ เกิดจิตส านึกร่วมความเป็นเจ้าของ
              ฐานทรัพยากรร่วมกัน เชื่อมร้อยเครือข่าย ชุมชนในพื้นที่ป่า (คนบนดอย - เครือข่ายสิ่งแวดล้อมม้ง) ชุมชนในพื้นที่
              รอบป่าและชุมชนเมืองให้ได้มีพื้นที่พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดความเข้าใจและหนุนเสริมการท างานซึ่งกันและกัน

              รวมถึงการสนับสนุนจากภาคธุรกิจเอกชน สถานประกอบการ ในแนวทาง “การแทนคุณนิเวศ” ให้สามารถยกระดับการ
              ท างาน ขยับไปสู่ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรอื่นๆ รวมถึงสามารถพัฒนางานวิจัยเชิงบวก ความรู้ทางวิชาการมา
              ช่วยสนับสนุนการด าเนินงาน และขยายผลจากดอยสู่ดอย โดยการด าเนินการแก้ไขปัญหา ต้องมีการปรับการด าเนินงาน
              ให้สอดคล้องกับบริบทแต่ละพื้นที่ ความต้องการของชุมชน สถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งจ าเป็นต้องมีการด าเนินการอย่าง

              ต่อเนื่องบนฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56