Page 46 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 46
43
เทคนิคความส าเร็จ
หน่วยงานในพื้นที่ให้ความส าคัญกับการเฝ้าระวัง และมีข้อมูลส าหรับการเตือนภัยปัญหามลพิษทางอากาศ
ปัญหาหมอกควันในพื้นที่
กระบวนการหรือวิธีท างานต้องถูกต้องตามหลักวิชาการ สามารถตอบข้อซักถามของชุมชน หน่วยงาน และ
ผู้ที่มาชมการตรวจวัด
ชื่อเรื่อง (องค์ความรู้) การตรวจวัดเสียงทั่วไป
ผู้เขียน/ผู้จัดท า
นายวิรัช เอื้อทรงธรรม นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช านาญการ
สังกัด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
สาระส าคัญ
การตรวจวัดระดับเสียงโดยทั่วไป เป็นการประเมินค่าระดับเสียงที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อมในบริเวณชุมชนหรือ
พื้นที่ต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสภาพปัญหาและสถานการณ์ของมลพิษทางเสียงในเขตชุมชนหรือพื้นที่ต่างๆ
ดังนั้น ในการตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ซึ่งเป็นการตรวจวัดระดับเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงของเสียงใน
ช่วงเวลา 24 ชั่วโมง จะมีหน่วยในการตรวจวัดระดับเสียงเป็นเดซิเบลเอ หรือ dB(A)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ทราบวิธีการตรวจวัดเสียงทั่วไปได้อย่างถูกต้อง
ขั้นตอน/กระบวนการท างานฃ
การตรวจวัดระดับเสียงโดยทั่วไป เป็นการประเมินค่าระดับเสียงที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อมในบริเวณชุมชนหรือ
พื้นที่ต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสภาพปัญหาและสถานการณ์ของมลพิษทางเสียง โดยพื้นที่ส าหรับการตรวจวัด
เสียงทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. การตรวจวัดเสียงภายนอกอาคาร ต้องติดตั้งไมโครโฟนของเครื่องวัดเสียงให้สูงจากพื้น 1.5 เมตร และภายใน
รัศมี 3.50 เมตร ตามแนวราบรอบไมโครโฟนจะต้องไม่มีก าแพงหรือสิ่งอื่นใดที่มีคุณสมบัติในการสะท้อนเสียงกีดขวางอยู่
และหันไมโครโฟนไปในทิศทางที่มีแหล่งก าเนิดเสียง
2. การตรวจวัดเสียงบริเวณภายในอาคาร ต้องติดตั้งไมโครโฟนของเครื่องวัดเสียงสูงจากพื้น 1.5 เมตร ภายใน
รัศมี 1.00 เมตร ตามแนวราบรอบไมโครโฟนจะต้องไม่มีก าแพงหรือสิ่งอื่นใดที่มีคุณสมบัติในการสะท้อนเสียงกีดขวางอยู่
และต้องห่างจากช่องหน้าต่างหรือช่องทางที่เปิดออกนอกอาคารอย่างน้อย 1.50 เมตร