Page 38 - เอกสารประกอบการสอนพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
P. 38

37


                                           วิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

                                                     รหัสวิชา 2204–2006                         หน่วยที่ 2
                                        ชื่อหน่วย การวิเคราะห์ปัญหาและการออกแบบโปรแกรม


                         สาระส าคัญ

                              กระบวนการท างานของโปรแกรมประกอบด้วย การน าข้อมูลเข้าสู่ระบบ (INPUT)  การ

                       ประมวลผลเช่น การค านวณ การเปรียบเทียบ ฯลฯ (PROCESS)  การแสดงผลลัพธ์จากการท างาน
                       ของโปรแกรม (OUTPUT) เพื่อให้ได้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ดีท างานถูกต้อง จึงต้องมีการเตรียมการ
                       ก่อนลงมือเขียนโปรแกรม นั่นก็คือ การวิเคราะห์ปัญหาและการออกแบบโปรแกรม  ส าหรับการ

                       วิเคราะห์ปัญหานั้นจะมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement) การวิเคราะห์
                       รูปแบบผลลัพธ์ (Output)  การวิเคราะห์ข้อมูลน าเข้า (Input)  การวิเคราะห์ตัวแปร (Variable) และ
                       การวิเคราะห์การประมวลผล (Process)  ส่วนการออกแบบโปรแกรมเป็นการแสดงล าดับขั้นตอนการ
                       ท างานของโปรแกรม โดยเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบโปรแกรมมีอยู่ 2 ชนิด คือ รหัสเทียม

                       (Pseudo Code) และ ผังงาน  (Flowchart)  การออกแบบโปรแกรมจะมีโครงสร้างควบคุมการ
                       ท างานอยู่ 3 แบบ คือ  โครงสร้างแบบล าดับ (Sequential Structure)  โครงสร้างแบบมีทางเลือก

                       (Selection Structure)  และโครงสร้างแบบท าซ้ า (Iteration Structure)

                       1.  การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)

                              การวิเคราะห์ปัญหาเป็นการเตรียมการก่อนลงมือเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษา
                       ลักษณะและรายละเอียดที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา จะต้องมีแนวทางการแก้ไขที่เหมาะสม
                       เพื่อให้การท างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เขียนโปรแกรมต้องพิจาณาการวิเคราะห์ปัญหาอย่าง

                       ละเอียด ว่าต้องการเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหาอะไร ประมวลผลอย่างไร ผลลัพธ์ที่
                       ต้องการเป็นอย่างไร รูปแบบข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ตัวแปรที่น ามาใช้มีอะไรบ้าง ตาม
                       กระบวนการท างานของโปรแกรม ซึ่งประกอบด้วย การน าข้อมูลเข้าสู่ระบบ (INPUT)  การ
                       ประมวลผลเช่น การค านวณ การเปรียบเทียบ ฯลฯ (PROCESS)  การแสดงผลลัพธ์จากการท างาน

                       ของโปรแกรม (OUTPUT)  ดังภาพที่ 2.1 กระบวนการท างานของโปรแกรม

                                    INPUT                PROCESS               OUTPUT

                                การน าข้อมูลเข้าสู่    การประมวลผล           การแสดงผลลัพธ์
                               ระบบคอมพิวเตอร์            โปรแกรม           จากการท างานของ
                                                                                โปรแกรม



                                              ภาพที่ 2.1 กระบวนการท างานของโปรแกรม
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43