Page 10 - การวางแผนงานวิจัย โครงร่างงานวิจัย
P. 10

มักจะก าหนด กฎเกณฑ์ในการคัดเลือก (diagnostic criteria) พร้อมทั้งมีเหตุผล ประกอบชัดเจน

                   ในหลักเกณฑ์แต่ละข้อ ซึ่งรวมทั้ง กฎเกณฑ์ในการคัดเลือกเข้ามาศึกษา (inclusion criteria)
                   และกฎเกณฑ์ในการ ตัดออกจากการศึกษา (exclusion criteria) โดยกฎเกณฑ์เหล่านี้ จะมีผล
                   ต่อการขยายผล (generalize) การวิจัยไปใช้ ถ้ากฎเกณฑ์มีการจ าเพาะมาก เช่น มีกฎเกณฑ์ใน

                            ่
                                                                                           ้
                   การตัดผู้ปวย ออกจากการศึกษามากมาย การขยายผลการศึกษา ไปยังประชากรเปาหมาย จะ
                   เป็นไปอย่างจ ากัด แต่ผลการศึกษา จะมีความไว ในการตอบค าถามได้ดี
                            ii.  วิธีการให้ได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง (Sampling) หมายถึงกระบวนการเลือก
                                                                                    ้
                   ส่วนของประชากรเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรที่สนใจทั้งหมด(ประชากรเปาหมาย) ต้องมีการ
                   ระบุถึง วิธีการในการสุ่มตัวอย่าง ควรมีการก าหนด หน่วยตัวอย่าง (sampling unit) และกรอบ

                   ตัวอย่าง (sampling frame) ให้ชัดเจนก่อน วิธีการคัดเลือกตัวอย่างเข้ามาในการวิจัยมี 2 วิธีการ
                   หลักๆได้แก่

                          การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัย ทฤษฏีความน่าจะเป็น (Probability Sampling) ท าให้ทราบ
                   ถึง โอกาสของแต่ละหน่วยตัวอย่าง ที่จะถูกเลือกเข้ามาศึกษา เช่น

                            การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย(Simple Random Sampling)

                            การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบบ(Systematic Random Sampling)

                            การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม(Cluster Sampling)
                            การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Muti - stage Random Sampling)

                          การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ได้อาศัย ทฤษฏีความน่าจะเป็น (Non-probability sampling) การ
                   เลือกตัวอย่างแบบนี้  โอกาสที่ตัวอย่างแต่ละหน่วยที่ถูกเลือกเข้ามา อาจจะมีโอกาสถูกเลือกไม่

                   เท่ากัน อาจเกิดอคติจากการเลือกตัวอย่าง (selection bias) ดังนั้นตัวอย่างที่ได้อาจจะไม่เป็นตัว
                   แทนที่ดี ของประชากร วิธีนี้จึงมีข้อจ ากัดในการขยายผลสู่ประชากร เช่น

                             เลือกตามความสะดวก (Convenient Sampling)

                             เลือกโดยความบังเอิญ (Accidental Sampling)

                             เลือกโดยการก าหนดจ านวนไว้ก่อน (Quota Sampling)
                             เลือกโดยความจงใจ (Purposive Sampling)

                       กุญแจสู่ความส าเร็จ

                            พรรณนาประชากรของการศึกษาอย่างชัดเจน

                            มีเกณฑ์คัดเข้า/ออกที่เหมาะสม
                            แสดงให้เห็นถึงความเหมาะสมของประชากรของการศึกษาและวิธีการเลือกตัวอย่าง

                            พรรณนาวิธีการเลือกตัวอย่างอย่างชัดเจน

                                    iii.  แผนการรวบรวมผู้ป่วย (Recruitment plans)
                         ในส่วนนี้ผู้วิจัยต้องอธิบายอย่างชัดเจนว่าวิธีการใดที่จะใช้ในการน าเข้ากลุ่มตัวอย่าง
                                                                                        ั
                   ผู้วิจัยควรจะเน้นถึงความเป็นไปได้และการน าเข้ากลุ่มตัวอย่างนั้นไม่ก่อให้เกิดปญหาในทาง




                                                                                                    10
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15