Page 41 - การวิจัยทางการศึกษา
P. 41
40
ท านายน้อยที่สุด หลักเกณฑ์นี้มีอยู่ในต าราสถิติและต าราระเบียบวิธี
วิจัย ซึ่งผู้วิจัยสามารถหาอ่านและท าความเข้าใจได้ไม่ยาก
2. กำรสุ่มตัวอย่ำงและแผนกำรสุ่ม
การศึกษาจากประชากรเป็นเรื่องยาก ดังนั้นผู้วิจัยจึงต้องเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างมาท าการศึกษาแทน การเลือกกลุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ต้องสัมพันธ์และ
สอดคล้องกับหน่วยวิเคราะห์ การสุ่มตัวอย่างต้องมีหลักเกณฑ์ เพื่อให้ตัวอย่างที่เลือกมา
ศึกษาเป็นตัวแทนของประชากรอย่างแท้จริง
3. ขนำดของกลุ่มตัวอย่ำงที่เหมำะสม
การระบุขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยทั่วไปใช้การก าหนดและการเปิดตาราง
ส าเร็จรูป Taro Yamane หรือ ตารางก าหนดกลุ่มตัวอย่างของ Krejci and Morgan หรือ
วิธีอื่น ๆ
5.3 กำรสุ่มตัวอย่ำงและกำรได้มำซึ่งกลุ่มตัวอย่ำง
ขั้นตอนกำรเลือกกลุ่มตัวอย่ำง
ก าหนด/นิยามประชากรเป้าหมาย
รวบรวมสมาชิกทั้งหมดของประชากร
ก าหนดหน่วยของการสุ่มตัวอย่าง
วางแผนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ท าการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
เทคนิคกำรสุ่มกลุ่มตัวอย่ำง
1.กำรสุ่มโดยไม่ค ำนึงถึงควำมน่ำจะเป็น
ในบางครั้งการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น โดยวิธีการสุ่มอาจจะไม่
สามารถท าได้หรือท าได้ยาก การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็นจึงถูก
น ามาใช้ซึ่งการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้จะมีลักษณะเป็นอัตวิสัย (subjective) ซึ่งมักจะท า
ให้การประมาณค่าพารามิเตอร์ขาดความแม่นย า ดังนั้นในการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้
มักจะใช้เมื่อไม่ต้องการอ้างอิงถึงลักษณะประชากร ส่วนใหญ่จะใช้กับงานวิจัยส ารวจ