Page 44 - การวิจัยทางการศึกษา
P. 44

43

                      ในการสุ่มอย่างง่าย มีข้อจ ากัดคือ ประชากรต้องนับได้ครบถ้วน (finite
               population) ซึ่งบางครั้งอาจสร้างปัญหาให้กับนักวิจัย


                      2.2 กำรสุ่มแบบเป็นระบบ (systematic sampling)

                      ใช้ในกรณีที่ประชากรมีการจัดเรียงอย่างไม่ล าเอียง

                                 1) ประชากรหารด้วยจ านวนกลุ่มตัวอย่าง (K = N/n)
                                 2) สุ่มหมายเลข 1 ถึง K  (ก าหนดสุ่มได้หมายเลข  r )



                                 3) r จะเป็นหมายเลขเริ่มต้น ล าดับต่อไป r + K, r +2K, r + 3K, …..
                              การสุ่มแบบเป็นระบบ โอกาสถูกเลือกของตัวอย่างไม่เป็นอิสระจากกัน

                      เพราะเมื่อตัวอย่างแรกถูกสุ่มแล้ว  ตัวอย่างหน่วยอื่นก็จะถูกก าหนดให้เลือก

                      ตามมาโดยอัตโนมัติ โดยไม่มีการสุ่ม
                              3. กำรสุ่มแบบแบ่งชั้น (stratified random sampling)

                              เป็นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่แบ่งกลุ่มประชากรออกเป็นกลุ่มย่อย
                      (subgroup or

               strata) เสียก่อนบน พื้นฐานของตัวแปรที่ส าคัญที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปรตาม โดยมีหลักใน

               การจัดแบ่งกลุ่มแต่ละกลุ่มมีความเป็นเอกพันธ์ (Homogeneous) หรือกล่าวได้ว่า ในกลุ่ม
               เดียวกันจะมีลักษณะคล้ายคลึงกันตามกลุ่มย่อยของตัวแปร  แต่จะมีความแตกต่างระหว่าง

               กลุ่ม  จ านวนสมาชิกในกลุ่มย่อยจะถูกก าหนดให้เป็นสัดส่วน (proportion) ตามสัดส่วนที่
               ปรากฏในประชากร ซึ่งเรียกว่า การสุ่มแบบแบ่งชัดโดยใช้สัดสัด (proportion stratified

               sampling)  การสุ่มแบบแบ่งชั้นจะมีความเหมาะสมกับงานวิจัยที่สนใจความแตกต่างของ

               ลักษณะประชากรในระหว่างกลุ่มย่อย
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49