Page 313 - การเป็นผู้ประกอบการ_Neat
P. 313
307
4. ให้ความสําคัญกับการผลิตสินค้าที่รักษาสิ่งแวดล้อมและต่อต้านโลกร้อน รวมถึง การํา
เนินธุรกิจเพื่อสังคม เนื่องจากประเด็นเหล่านี้จะถูกนํามาใช้เป็นเงื่อนไขในการนําเข้าสินค้าของ อดมากขึ้นใน
อนาคตหลังจากยกเลิกมาตรการภาษีระหว่างกัน
5. ศึกษากฏระเบียบและเงื่อนไขการนําเข้าของประเทศคู่ค้า และปรับปรุงโครงสร้างการ
ผลิต องกับกภถิ่นกําเนิดสินค้าและสอดคล้องกับมาตรฐานอาเซียนในสินค้าบางประเภท เกิดและสขอนามัย
สิ่งแวดล้อมและมาตรฐานแรงงานของประเทศที่เป็นตลาดส่งออก ภาครัฐ เอกชนควรผลักดันความร่วมมือ
ระหว่างกันในการสร้างเครือข่ายการผลิตที่เชื่อมโยงกัน
6. ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การจัดการการผลิตและต้นทุน และการดําเนินธุรกิจ เช่น
การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาและทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ การปรับเปลี่ยน
เครื่องจักรใหม่และพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตให้สูงขึ้นเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขัน
โดยเฉพาะเทคโนโลยีด้านสารสนเทศที่จะช่วยอํานวยความสะดวกในการดําเนินธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
7. พัฒนาศักยภาพและเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยเฉพาะแรงงานฝีมือและช่าง
เทคนิค เพื่อให้มีปริมาณและความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน สอดคล้องกับความต้องการของ
กำรเปลี่ยนแปลงและจุดยืนของประเทศไทยต่อประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน
ประเภทสินค้ำ แนวทำงกำรปรับตัว
สินค้ำเกษตร การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ โดยการปรับปรุงพันธุ์พืช การพัฒนาระบบชลประทาน
และการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน การเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว * การแปรรูป
วัตถุดิบขั้นต้น เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ทาง
การเกษตรเพื่อเป็น ทางเลือกให้กับผู้บริโภค - พัฒนาคุณภาพของสินค้า
โดยเฉพาะมาตรการด้านสุขอนามัยซึ่งเป็นสิ่งที่ประเทศคู่เจรจามีแนวโน้มจะ
นํามาใช้ มากขึ้นหลังการยกเลิกภาษี
สินค้ำ แข่งขันคุณภาพแทนการแข่งขันด้านราคา โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และ
อุตสำหกรรม นวัตกรรม ผลิตสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคและสังคมที่
เปลี่ยนแปลงไป
ที่มา : ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย