Page 315 - การเป็นผู้ประกอบการ_Neat
P. 315
309
2. การปรับตัวและพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อเข้าสู่ AEC
2.1 ผลักดันการกําหนดมาตรฐานสินค้าสําหรับผู้ประกอบการในประเทศควบคู่กับการ
ควบคุมและความปลอดภัยของสินค้านําเข้าที่เข้มงวดเพื่อรักษาคุณภาพชีวิตของผู้บริโภคชาวไทย จากสินค้า
นําเข้าจากต่างประเทศที่ไม่ได้มาตรฐาน
2.2 พัฒนาความสามารถในการผลิต เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
3. การเคลื่อนย้ายแรงงาน
3.1 ผลักดันให้ภาครัฐประกาศให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 2 ของประเทศ
3.2 พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและฝีมือแรงงาน (การกําหนดนโยบายที่ชัดเจนในการจัดทํา
หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษให้กับสถาบันอาชีวศึกษา)
กำรขยำยกำรลงทุนในประเทศสมำชิกอำเซียน
1. ศึกษา/วิจัยข้อมูลเชิงลึกของประเทศสมาชิกอาเซียน (ความต้องการ รสนิยม วัฒนธรรม
ข้อมูลการค้า การลงทุน กฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจในประเทศสมาชิก เป็นต้น)
2. มีนโยบายสนับสนุน/ให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ประกอบการในการลงทุนในต่างประเทศ (การ
ค้ําประกันเงินเพื่อการลงทุนในต่างประเทศ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
สําหรับรายได้จากการลงทุนในต่างประเทศ)
สินค้ำอุตสำหกรมของประเทศไทยที่ส่งออกไปในตลำดอำเซียน
มีการวิเคราะห์ตําแหน่งทางการตลาดของสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาด
อาเซียน 40บบจจัยอื่นๆ เช่น ความสามารถรักษาตําแหน่งของส่วนแบ่งตลาด การเพิ่มขึ้นของสวนแบงตลาด
4 นผลิตต่อหน่วย ศักยภาพแรงงาน ฯลฯ เพื่อแบ่งอุตสาหกรรมเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการแข่งขัน มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีเงินทุนพอ
ทอุตสาหกรรมมีความยั่งยืน ได้แก่ อุตสาหกรรมยาง ซึ่งมีส่วนแบ่งในตลาดอาเซียนเป็นอันดับ 1เพิ่มขึ้น
ต่อเนื่อง และมีอัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออกไปตลาดอาเซียนที่มีทิศทางภาพของแรงงานและ
คุณภาพสินค้าก็อยู่ลําดับต้นๆ ของกลุ่มอาเซียน โดยไทยต้องรักษา บดวยการขยายการลงทุนและเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขันแก่ผู้ประกอบการโดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง และมีอัตราการเป็นบวก รวมถึง
ศักยภาพของแรงงานและ ความได้เปรียบด้วยการขยายการลงทุน