Page 197 - Proceedings of 1st ISCIR 2017
P. 197

กรณีศึกษาการเสริมก าลังและตรวจวัดพฤติกรรมโครงสร้างราชมังคลากีฬาสถานด้วยเทคโนโลยีบูรณาการ
              A Case Study: Strengthening and Structural Monitoring of Rajamangala National Stadium

                                       Using Integrated Technologies

                            ธรรมชาติ กุลประภา นนทฉัตร กุลประภา ภูฐาน ปาริฉัตรานนท์  และ นริศ ชาญโกเวทย์ 4
                                                   2
                                                               3
                                       1
                                     3
                                                        4
                         1, 2 บริษัทนนทรีจ ากัด  บริษัทควินตัสอุตสาหกรรมจ ากัด  บริษัททางยกระดับดอนเมืองจ ากัด(มหาชน)
                                                                          4
                                                        3
                   E-mail:  tham@nontricorp.com,  dr_nonthachart@nontricorp.com,  bhutan.p@quintusindustry.com, naris.c@tollway.co.th
                                     2
                       1


           บทคัดย่อ                                     the  capacity  of  the  existing  structure.  For  construction
              บทความนี้กล่าวถึงการใช้เทคโนโลยีวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์คอมโพ  quality control and monitoring of structural behaviors along
           สิตในการเสริมก าลังโครงสร้างคอนกรีตของราชมังคลากีฬาสถาน ให้  with performance of the composite strengthening system,
           สามารถรับน้ าหนักของสิ่งก่อสร้างชั่วคราวที่ใช้ในการจัดการแข่งขันรถ   an integrated monitoring system comprising of two types of
           Race of Champion 2012 Thailand ได้แก่ น้ าหนักของถนนลาดยาง   fiber  optic  sensing  technology  is  adopted  together  with
           น้ าหนักสะพาน ตลอดจนน้ าหนักเครื่องจักร และน้ าหนักที่เกิดจากการ  infrared thermal imaging. This is to ensure safety in both the
           รื้อสนามแข่งขัน ซึ่งจะเป็นน้ าหนักที่กดทับต่อโครงสร้างเดิมของสนาม   construction and in-service phases.
           รวมประมาณ 6,000 ตัน ซึ่งเกินความสามารถในการรับน้ าหนักของ  Keywords: carbon fiber, fiber optic, infrared thermal imaging
           โครงสร้างเดิม ประกอบกับการใช้เทคโนโลยีในการควบคุมคุณภาพงาน
           ก่อสร้างและตรวจวัดพฤติกรรมโครงสร้างคอนกรีตรวมทั้งประสิทธิภาพ  1.  ความเป็นมา
           การท างานของวัสดุคอมโพสิต โดยบูรณาการของระบบตรวจวัดด้วยเส้น  การกีฬาแห่งประเทศไทยมีความประสงค์จะจัดการแข่งขันรายการ
           ใยแก้วน าแสง 2 ประเภท และเทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อน เพื่อให้เกิด  Race of Champion Thailand 2012 ระหว่างวันที่ 14-16 ธันวาคม
           ความปลอดภัยทั้งในระหว่างการก่อสร้างและการใช้งานแข่งขันกีฬา   2555 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน  โดยท าการก่อสร้างสนามแข่งขัน
           ค าส าคัญ:คาร์บอนไฟเบอร์,เส้นใยแก้วน าแสง,ภาพถ่ายความร้อน   ลงบนพื้นทางวิ่งและสนามหญ้าเดิม โดยมีลักษณะและรูปแบบตามรูปที่
                                                        1 ซึ่งในการก่อสร้างสนามแข่งรถนี้ จะต้องมีวัสดุถมทับ น้ าหนักสะพาน
           Abstract                                     น้ าหนักเครื่องจักร น้ าหนักที่เกิดจากการขนส่งวัสดุและเครื่องจักร

              This article describes a case study of strengthening of   น้ าหนักที่เกิดจากการจัดการแข่งขัน รวมทั้งกระบวนการรื้อถอน
           Rajamangala  National  Stadium’s  reinforced  concrete   สนามแข่งขัน ซึ่งเป็นน้ าหนักที่กดทับต่อโครงสร้างเดิมของสนามรวม
           structural members with carbon fiber composites to make   ประมาณ 6000 ตันและท าให้มีขนาดน้ าหนักจรที่ต้องรับเพิ่มขึ้นสูงสุด
           them  have  an  adequate  load  carrying  capacity  for   ประมาณ 4,500 กก./ตร.ม. ซึ่งเกินความสามารถในการรับน้ าหนักของ
           temporary structures built for the Race of Champion 2012   โครงสร้างเดิมที่ได้ออกแบบให้รับน้ าหนักบรรทุกจรได้เพียง 500 กก./
           Thailand auto racing, construction loads, and loads resulting   ตร.ม. ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยจึงจ าเป็นต้องด าเนินการตรวจสอบ
           from  demolition  of  temporary  structures.  Note  that  the   ทดสอบ และเสริมความแข็งแรงให้กับโครงสร้างเดิม เพื่อรองรับการ
           total  superimposed  load  is  around  6,000  tons,  exceeding     แข่งขันในครั้งนี้













                           “Innovative Seismic Strengthening System for Concrete Structures”
                                        © 2017 | T Imjai & R. Garcia (Eds.)
                                                  -- 195 --
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202