Page 198 - Proceedings of 1st ISCIR 2017
P. 198
รูปที่ 1 ลักษณะสนามแข่งขัน ROC 2012
2. ขั้นตอนการด าเนินงาน
2.1 การทดสอบการรับน้ าหนักบรรทุกของโครงสร้าง(Load
Test)
ในเบื้องต้นเมื่อพิจารณาถึงการรับน้ าหนักบรรทุกของสนามกีฬา
ราชมังคลากีฬาสถาน พบว่าถูกออกแบบไว้ให้รับน้ าหนักบรรทุกจร
เท่ากับ 500 กก./ตร.ม.เท่านั้น ซึ่งการก่อสร้างสนามแข่งขัน ROC
2012 จะมีน้ าหนักบรรทุกจรเฉลี่ยเท่ากับ 1,200 กก./ตร.ม. และ
น้ าหนักบรรทุกจรสูงสุดเท่ากับ 3,700 กก./ตร.ม. แต่บริเวณที่ต้อง
ก่อสร้างสะพานมีน้ าหนักบรรทุกจรสูงสุดถึง 4,500 กก./ตร.ม. จะเห็น
ได้ว่าหากท าการออกแบบเสริมก าลังเพื่อรับน้ าหนักบรรทุกจรดังที่กล่าว รูปที่ 3 เครื่องมือบันทึกข้อมูล Data Acquisitions
ข้างต้น จะต้องใช้เงินงบประมาณสูงมาก
ดังนั้น จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องท าการทดสอบการรับน้ าหนัก อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดได้แก่ Electrical strain gauge ,Dial
สร้างก่อน เพื่อน ามาเป็นข้อมูลประกอบการออกแบบการเสริมก าลัง gauge และ Displacement transducer โดยท าการตรวจวัด
โครงสร้างพื้น ให้รับน้ าหนักได้อย่างปลอดภัย และใช้งบประมาณในการ พฤติกรรมของโครงสร้างอันได้แก่ ความเครียด (Strain) และการแอ่น
ตัว(Displacement) เมื่อรถทดสอบมาหยุดที่ต าแหน่งต่างๆ ที่ก าหนดไว้
ด าเนินงานน้อยที่สุด แต่ยังคงรับน้ าหนักที่ก าหนดให้ได้อย่างปลอดภัย
การด าเนินงานทดสอบการรับน้ าหนัก (Load Test) โดยใช้น้ าหนัก แล้วบันทึกข้อมูลด้วย Data Acquisitions ตามรูปที่ 3
ในการวิเคราะห์โครงสร้างได้ใช้แบบจ าลองทางคณิตศาสตร์(Finite
จากรถบรรทุก 10 ล้อ ตามรูปที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อ ตรวจสอบสภาพ Element Model) ที่สร้างจากข้อมูลแบบก่อสร้างสนามราชมังคลากีฬา
พฤติกรรมของโครงสร้างโดยรวมและการถ่ายเทแรงภายในโครงสร้าง
เพื่อน ามาเป็นข้อมูลใช้ในการประเมินความสามารถในการรับน้ าหนัก สถาน จากนั้นจะท าการปรับแก้พารามิเตอร์ของแบบจ าลองให้
สอดคล้องกับผลการตรวจวัดภาคสนาม เพื่อให้แบบจ าลองมี
และใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบเสริมก าลังโครงสร้างต่อไป
ผลตอบสนองภายใต้น้ าหนักบรรทุกใกล้เคียงพฤติกรรมจริงของ
โครงสร้างพื้นมากที่สุด และจากแบบจ าลองดังกล่าวจะน ามาวิเคราะห์
หน่วยแรงที่เกิดขั้นบนโครงสร้างภายใต้สภาวะน้ าหนักบรรทุกต่างๆ ที่
พิจารณา
2.2 การออกแบบเสริมก าลังโครงสร้าง
ส าหรับโครงสร้างพื้นสนามราชมังคลากีฬาสถาน เมื่อพิจารณาจาก
ผลการทดสอบการรับน้ าหนัก (Load Test) และการวิเคราะห์
โครงสร้าง แสดงให้เห็นว่าจะต้องท าการออกแบบเสริมก าลังโครงสร้าง
พื้น และบางบริเวณจะต้องมีการค้ ายันเพิ่มเติมด้วย
รูปที่ 2 รถบรรทุก 10 ล้อจ านวน 2 คัน (รถทดสอบ)
“Innovative Seismic Strengthening System for Concrete Structures”
© 2017 | T Imjai & R. Garcia (Eds.)
-- 196 --