Page 199 - Proceedings of 1st ISCIR 2017
P. 199

จากข้อจ ากัดของระยะเวลาในการด าเนินงานและสภาพทาง  A  B  C  D  E  F  G  H  I  J  K  L  M  N  O  P  Q  R  S  T  U  V  W
                                                                          WEST
           กายภาพของโครงสร้างพื้นสนามพบว่าวิธีการเสริมก าลังโดยวัสดุคอมโพ
                                                                         START / FINISH ARCH
                                                        1
           สิตเสริมเส้นใย (Strengthening with Composite Materials) มีความ
                                                        2
                                                                        341 m  7,5 m  TRACK
                                                                                     ENTRANCE
           เหมาะสม เพราะไม่กระทบต่อระดับความสูงเดิมของใต้ท้องพื้น (Head   3 4 5  356 m  7,5 m
           Room) ไม่เพิ่มภาระน้ าหนักให้กับเสาและฐานรากเดิม กระบวนการ  6
                                                        7
           ติดตั้งไม่กระทบต่อการใช้งานอาคารโดยรวม และระยะเวลาติดตั้งน้อย  8  SOUTH         NORTH
                                                                                       LOUNGE
                                                                    ZONE
                                                        9          DOUGHNUTS  6 m      DRIVERS
                                                                                       &
           กว่าเมื่อเทียบกับการเสริมก าลังด้วยวิธีอื่นๆ   10            6 m  15 m  DOUGHNUTS  LIMITED
                                                                                       VIP
                                                                         6 m  ZONE    HOSPITALITY
              หลักเกณฑ์ในการออกแบบเสริมก าลังพื้นสนามราชมังคลากีฬา    25 m
                                                        11
                                                                                     TRACK
                                                        12
                                                                                      EXIT
                                                                    6 m
                                                        13
           สถาน เพื่อจัดการแข่งขัน ROC 2012 รายละเอียดโดยสังเขปดังนี้   14
                                                        15                           CF160 in monitoring Zone
              1.  ออกแบบเสริมก าลังพื้นตลอดแนวถนนที่แข่งรถ เพื่อให้รับ  16  F1 Track  5,0 m  W=0.50 m, 1 Layer
                                                                                       W=0.50 m, 2 Layer
                                                                          EAST
           น้ าหนักบรรทุกจรเฉลี่ย เท่ากับ 1,200 กก./ตร.ม.และรับน้ าหนักบรรทุก
           จรสูงสุดเท่ากับ 40 ตัน (Paving Machine)      รูปที่ 4 แผนผังแสดงการเสริมก าลังโครงสร้างพื้นสนามราชมังคลากีฬาสถาน
              2.  ออกแบบเสริมก าลังพื้นและค้ ายันพิเศษ บริเวณก่อสร้าง  ด้วยวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใย
           สะพานแข่งรถ เพื่อให้รับน้ าหนักบรรทุกจรสูงสุดเท่ากับ 40 ตัน
           (Paving Machine) รวมทั้งน้ าหนักสะพานชั่วคราว 600 ตัน
              3.  ออกแบบเสริมก าลังพื้นและค้ ายันพิเศษ บริเวณบ่อทราย
           เพื่อให้รับน้ าหนักบรรทุกจรเฉลี่ย เท่ากับ 1,200 กก./ตร.ม.และรับ
           น้ าหนักบรรทุกจรสูงสุดเท่ากับ 40 ตัน (Paving Machine)
              ทั้งนี้ การออกแบบเสริมก าลังโครงสร้างพื้นจะเป็นไปตามมาตรฐาน
           ACI  440.2R-02  “Guide  for  the  Design  and  Construction  of

           Externally Bonded FRP Systems for Strengthening Concrete
           Structures”                                     รูปที่ 5 การเจียรผิวท าความสะอาดพื้นผิวคอนกรีตก่อนการติดตั้ง
           2.3 การเสริมก าลังโครงสร้างพื้นสนาม
              การเสริมก าลังโครงสร้างพื้นสนามราชมังคลากีฬาสถานเพื่อใช้ใน
           งานแข่งขัน ROC2012 แบ่งออกเป็น 2 วิธีคือ
              2.3.1 การเสริมก าลังด้วยวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใย
              การเสริมก าลังโครงสร้างคอนกรีตด้วยวัสดุคอมโพสิต หรือFiber
           Reinforced Plastic (FRP)เป็นที่รู้จักและนิยมใช้งานกันอย่าง
           กว้างขวางทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เนื่องจากมีความสะดวกใน  รูปที่ 6 การติดตั้งวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใยบริเวณใต้พื้น
           การติดตั้งและสามารถประยุกต์ใช้ได้ในหลากหลายรูปแบบ ส าหรับ  สนามราชมังคลากีฬาสถาน
                                                          การติดตั้งวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใยบริเวณใต้ท้องพื้นสนามราชมัง
           โครงการนี้เลือกใช้เส้นใยแรงดึงสูง (High Tensile Strength Fiber)
                                                        คลากีฬาสถาน  มีอุปสรรคและข้อจ ากัดที่ส าคัญคือ  ในแต่ละต าแหน่ง
           ชนิด Carbon Fiber (Unidirectional Fabric)) และวัสดุประสานยึด
                                                        บริเวณที่เสริมก าลังมีความยาวและมีพื้นที่มาก  สภาพการท างานมีแสง
           เกาะ (Polymer-Matrix) ชนิด Epoxy Resin ดังแสดงในรูปที่ 4 ถึง 6
                                                        สว่างน้อยและมีอุณหภูมิค่อนข้างสูง  ท าให้ระยะเวลาในการติดตั้งก่อน
           ซึ่งวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใยนี้จะติดตั้งอยู่บนผิวโครงสร้างคอนกรีตใน  การเริ่มท าปฏิกิริยาของ Epoxy Resin มีจ ากัดมาก จึงได้น าเทคโนโลยี
           ส่วนบริเวณที่รับแรงดึง (Tension Zone) เพื่อช่วยเพิ่มความสามารถใน  การถ่ายภาพความร้อนมาใช้ในการควบคุมคุณภาพของการผสมและการ
           การรับแรงดึงร่วมกันกับเหล็กเสริมที่มีอยู่เดิมภายในโครงสร้างคอนกรีต  ติดตั้ง ช่วยให้ให้การทา Epoxy Resin มีความทั่วถึงทั้งพื้นที่ที่ติดตั้งและ
           และท าให้ความสามารถในการรับแรงดัด (Flexural Capacity) สูงขึ้น      Epoxy  นั้นยังคงมีคุณภาพในการท าปฏิกิริยาทางเคมีที่เหมาะสมในการ
                                                        ใช้งาน โดยสังเกตระดับความร้อนของ Epoxy ดังแสดงในรูปที่ 7


                           “Innovative Seismic Strengthening System for Concrete Structures”
                                        © 2017 | T Imjai & R. Garcia (Eds.)
                                                  -- 197 --
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204