Page 258 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 258

หน้า ๒๔๖                                                                             ส่วนที่ ๓



                                   การศึกษาดูงานเครือข่ายความหลากหลายทางเพศอีสาน

                                           (Isaan Gender Diversity Network)
                                                     ณ จังหวัดขอนแก่น

                                               วันจันทร์ที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๕


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
               ทางเพศ ได้เดินทางไปศึกษาดูงานที่เครือข่ายความหลากหลายทางเพศอีสาน (Isaan Gender Diversity

               Network) จังหวัดขอนแก่น เพื่อรับฟังความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ สรุปสาระส าคัญได้ดังนี้
                                                         เครือข่ายความหลากหลายทางเพศอีสาน (Isaan Gender

                                                Diversity Network) ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๔ มีวัตถุประสงค์
                                                (๑) เพื่อสร้างความเท่าเทียมระหว่างเพศในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                (๒) บูรณาการสิทธิความเป็นธรรมความหลากหลายทางเพศและสิทธิเด็ก

                                                                                      ื่
                                                กับงานภาคประชาสังคม (๓) ขับเคลื่อนเพอประชาธิปไตย ส่งเสริม
                                                ความเท่าเทียมและสิทธิความหลากหลายทางเพศกับหน่วยงาน

                                                ปกครองส่วนท้องถิ่น และ (๔) สร้างองค์ความรู้ด้านความหลากหลาย
                                                ทางเพศในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                           การด าเนินงานของเครือข่ายความหลากหลายทางเพศอีสาน (Isaan Gender Diversity

                                                                                             ื่
               Network) มีการวางแผนงานอีสาน Pride Festival จัดเทศกาลสาธารณะกับชุมชน เพอเฉลิมฉลองการ
               ยอมรับในตนเอง มีระยะเวลา ๕ ปี เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยร่วมงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

               ภาคประชาสังคม ท าให้คนรู้จักเครือข่าย มีการศึกษาวิจัย ค้นคว้าหาข้อมูลเพอให้บุคคลภายนอกได้ทราบ
                                                                                    ื่
               เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก เยาวชน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สร้างความคิดสร้างสรรค์ พฒนา
                                                                                                        ั
               ศักยภาพบุคลากร เด็กและเยาวชน และส่งเสริมประชาธิปไตย

                           ประเด็นการศึกษาดูงาน
                           ๑. เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมความเท่าเทียมและการคุ้มครองรับรองสิทธิบุคคล

                           ๒. เพอพฒนาเครือข่ายความร่วมมือ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างคณะกรรมาธิการและภาค
                                ื่
                                   ั
               ประชาชน
                           วัตถุประสงค์ในการศึกษาดูงาน

                           ๑. เพอรับฟงปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงาน
                                      ั
                                ื่
               ของเครือข่ายความหลากหลายทางเพศอีสาน ประกอบกับ
               การจัดท ารายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่องแนวทางการคุ้มครอง
               และรับรองสิทธิของบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศ
               สภาผู้แทนราษฎร

                           ๒. เพอแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
                                ื่
               ในการส่งเสริมความเท่าเทียมและสิทธิความหลากหลายทางเพศ

               พื้นที่อีสาน
   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263