Page 260 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 260

หน้า ๒๔๘                                                                             ส่วนที่ ๓



                       การศึกษาดูงานการส่งเสริมอาชีพและการจัดสรรพื้นที่ท ากินของประชาชนบนที่สูง

                                                   ณ หมู่บ้านห้วยเหลือง
                                            ต าบลแม่ท้อ อ าเภอเมือง จังหวัดตาก

                                             วันอาทิตย์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
                                                                                      ื้
               ทางเพศ ได้เดินทางไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพและการจัดสรรพนที่ท ากินของประชาชน
                                                                                         ั
               ณ หมู่บ้านห้วยเหลือง ต าบลแม่ท้อ อ าเภอเมือง จังหวัดตาก วันอาทิตย์ที่ ๑๒ กุมภาพนธ์ ๒๕๖๖ โดยเห็นว่า
               รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไว้ว่า “รัฐพงส่งเสริมและให้ความคุ้มครองชาวไทย
                                                                           ึ
               กลุ่มชาติพนธุ์ต่าง ๆ ให้มีสิทธิด ารงชีวิตในสังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตดั้งเดิมตามความ
                         ั
               สมัครใจได้อย่างสงบสุข ไม่ถูกรบกวน ทั้งนี้เท่าที่ไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
               ของประชาชน หรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ หรือสุขภาพอนามัย” และยัง บัญญัติเงื่อนไขการตรา

                                                                 ึ
                                                                                 ั
               กฎหมายไว้ว่า “...ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพงจัดให้มีการรับฟงความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง
               วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟง
                                                                                                           ั
               ความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และน ามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมาย
                                                            ึ
               ทุกขั้นตอน เมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว รัฐพงจัดให้มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายทุกรอบ
                                                                                     ื่
                                                                                        ั
               ระยะเวลาที่ก าหนดโดยรับฟงความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย เพอพฒนากฎหมายทุกฉบับ
                                          ั
               ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป...”
               ประกอบกับรัฐได้ออกพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๒

               พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๖๒ และ
               พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมทั้งมาตรการ
               ทวงคืนผืนป่าของภาครัฐ ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการด ารงชีวิต

               ของประชาชนกลุ่มชาติพนธุ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไข
                                      ั
               ปัญหากลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงต่อไป

                           หมู่บ้านห้วยเหลือง เกิดขึ้นก่อน พ.ศ. ๒๔๘๘ เป็นที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ซึ่งได้ให้การ
               ช่วยเหลือการปฏิบัติการทางทหารของกระบวนการเสรีไทยในด้านต่าง ๆ ซึ่งมีหลักฐานที่ปรากฏชัดเจน เช่น
               สนามบินกองทัพเสรีไทย พ.ศ. ๒๔๘๘ ช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒ ถ้ าเสรีไทย (ผาวอก) เป็นต้น ดังนั้น

               พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๖๒ และ
                                                                                                          ั
               พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ กฎหมายดังกล่าวมีผลใช้บังคับภายหลังที่กลุ่มชาติพนธุ์
                                                                                ื้
               ได้เข้าไปอาศัยและท าประโยชน์ในพนที่นั้นแล้ว ท าให้กลุ่มชาติพนธุ์ในพนที่ได้รับความเดือดร้อน รวมถึง
                                                ื้
                                                                         ั
               ไม่ได้รับสิทธิการบริการสาธารณะจากภาครัฐ โดยผู้น าชุมชนได้น าเสนอปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการ
               ให้คณะกรรมาธิการ ทราบ ดังนี้
                           ๑. ปัญหาระบบสาธารณูปโภค ได้แก่ ถนน ไฟฟ้า น้ าประปา เป็นต้น เพราะติดขัดเรื่องเส้นทาง
               ผ่านเขตอุทยานแห่งชาติ จะด าเนินการใด ๆ ต้องขออนุญาตก่อน แม้มีงบประมาณในการก่อสร้างถนน

               แต่ไม่สามารถด าเนินการได้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ป่าไม้อนุรักษ์ ท าให้การเดินทางของชาวบ้านในหมู่บ้านดังกล่าว
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265