Page 23 - C:\Users\Dell_1\Documents\Flip PDF Professional\ยุทธศาสตร์เล่มปรับปรุง3\
P. 23
ตัวชี้วัดที่ 1.7 จํานวนผู้เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวกับการน้อมนําพระราโชบายด้าน
การศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 ประการ
สู่การปฏิบัติในพื้นที่บริการของ มรภ.
หน่วยนับ คน
คําอธิบาย
เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 ไทยที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ 1) มีทัศนคติที่ดี และถูกต้อง 2) มี
ประการ ตามพระราโชบายด้านการศึกษา โดยมี มรภ. เป็น พื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง 3) มีอาชีพ มีงานทํา และ 4) เป็น
หน่วยงานขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติในพื้นที่บริการผู้เข้าร่วม พลเมืองดี มีวินัย
โครงการ หมายความถึง ประชาชน เยาวชน นักศึกษา อาจารย์
บุคลากรในพื้นที่บริการ การจัดเก็บข้อมูล
ที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทย ที่พึง นับจํานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมเสริมสร้าง
ประสงค์ 4 ประการ ที่ มรภ. จัดขึ้น คุณลักษณะ คนไทยที่พึงประสงค์ 4 ประการ ที่ มรภ. จัดขึ้นใน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 4 ประการ หมายความถึง คน ทุกโครงการ กิจกรรม
ตัวชี้วัดที่ 1.8 อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากร โดยเฉพาะประชากร
ในวัยประถมศึกษา ในพื้นที่บริการของ มรภ.
หน่วยนับ ร้อยละ
คําอธิบาย
เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านออกเขียนได้ ของประชาชน ใน ง่ายๆ) จับใจความจากเรื่องที่อ่าน ตอบคําถามจากเรื่องที่
พื้นที่บริการ โดยเฉพาะประชากร ในวัยประถมศึกษา อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่สําคัญที่
การอ่านออกเขียนได้ หมายความถึง การอ่านออกเขียน พบเห็นในชีวิตประจําวัน คาดคะเนจากเรื่องที่อ่าน และสรุป
ได้ของประชาชน โดยอ้างอิงเกณฑ์ที่สํานักงานคณะกรรมการ ความรู้ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได้ อย่างสมเหตุสมผล
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่กําหนดดังนี้ 2. การเขียน หมายถึง ความสามารถในการเขียนคํา
1. การอ่าน หมายถึง ความสามารถในการอ่านออกเสียง ประโยค หรือเรื่องของนักเรียน ดังนี้
และการอ่านรู้เรื่องของนักเรียน ดังนี้ 2.1 การเขียนคํา หมายถึง การเขียนคําที่ เป็นวง
1.1 การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านคํา ประโยค คําศัพท์ที่กําหนดในแต่ละระดับชั้นปี โดยวิธีการเขียนคํา ตาม
หรือข้อความสั้น ๆ ที่เป็นวงคําศัพท์ ที่กําหนดในแต่ละระดับ คําบอก (ประเมินเฉพาะชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3)
ชั้นปี ทั้งที่เป็นคําที่มีความหมายโดยตรงหรือคําที่มีความหมาย 2.2 การเขียนประโยค/เรื่อง หมายถึง การเขียน
โดยนัยที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ประโยคง่าย ๆ การเขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์หรือ
1.2 การอ่านรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคํา ประโยค จินตนาการอย่างสร้างสรรค์ การเขียนย่อความ และการเขียน
ข้อความสั้น ๆ หรือเรื่องราวที่เป็น วงคําศัพท์ที่กําหนดในแต่ละ เรียงความ
ระดับชั้นปี ทั้งที่เป็นคําที่มีความหมายโดยตรงหรือคําที่มีความ ประชากรในวัยประถมศึกษา หมายความถึง นักเรียน ใน
หมายโดยนัย ที่ใช้ในชีวิตประจําวัน โดยสามารถบอกข้อคิดที่ ระดับประถมศึกษาในพื้นที่บริการของ มรภ. ทั้งที่เป็นการ ยุทธศาสตร์ที่ 1
ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สําหรับเด็ก (เป็นข้อความ ศึกษาในระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 23