Page 163 - STRATEGIES FOR BUDDHISM PROPAGATION OF OVERSEAS DHAMMADUTA BHIKKHUS (PH.D.)
P. 163

๑๔๕





                       กำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำตำมแนวทำงนี้จะช่วยให้หลักธรรมค ำสอนในพระพุทธศำสนำไม่ถูก
                                                                  ๗๕
                       เปลี่ยนแปลงไปจำกหลักกำรตำมพุทธประสงค์นั่นเอง

                                 ๔.๔.๒  กลุ่มเป้าหมายในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
                                 กลุ่มเป้ำหมำยในกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำของพระธรรมทูตสำยต่ำงประเทศ ที่จะท ำให้

                       กำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำในต่ำงประเทศประสบควำมส ำเร็จได้นั้น ต้องให้คนท้องถิ่นเจ้ำของประเทศ
                       ยอมรับพระพุทธศำสนำ กลุ่มเป้ำหมำย จึงได้แก่ คนท้องถิ่นเจ้ำของประเทศทั้งที่มีควำมสนใจ

                       พระพุทธศำสนำเป็นพื้นฐำนเดิม และกลุ่มคนที่สนใจแต่ไม่ประกำศตัวต่อสำธำรณะ รวมถึงกลุ่มชน

                       ชำติใด ๆ ที่ไม่ใช่คนท้องถิ่นแต่อำศัยอยู่ในท้องถิ่นนั้นด้วย และกลุ่มที่ส ำคัญคือพุทธศำสนิกชนไทยที่อยู่
                       ในท้องถิ่นนั้นทั้งกลุ่มที่ไปท ำงำนในประเทศนั้น และกลุ่มที่มีครอบครัวเป็นคนท้องถิ่นนั้น เพรำะ

                       นอกจำกจะช่วยเป็นสื่อกลำงในกำรส่งต่อพระพุทธศำสนำไปสู่คู่สมรสและบุตรหลำนต่อไปแล้ว ในช่วง
                       เริ่มต้นกำรจำริกไปต่ำงประเทศของพระธรรมทูตนั้น ส่วนหนึ่งเกิดจำกควำมต้องกำรของชุมชนไทยใน

                       ต่ำงประเทศ และเป้ำหมำยคือคนท้องถิ่น เพื่อให้พระพุทธศำสนำกลำยเป็นศำสนำของคนท้องถิ่น

                       และในอนำคตคนท้องถิ่นจะเป็นผู้ที่ดูแลพระพุทธศำสนำสืบต่อไป และท ำให้พระพุทธศำสนำสำมำรถ
                       ประดิษฐำนในท้องถิ่นนั้นได้อย่ำงแท้จริง ถือว่ำพระธรรมทูตไทยได้ปฏิบัติหน้ำที่ในกำรเผยแผ่

                       พระพุทธศำสนำในประเทศนั้นได้อย่ำงสมบูรณ์ สำมำรถจัดกลุ่มเป้ำหมำยได้เป็นกลุ่มต่ำง ๆ ดัง

                       ตัวอย่ำงต่อไปนี้
                                     ๑) จัดกลุ่มตำมวัย แบ่งได้เป็น ๕ กลุ่ม คือ ๑. วัยเด็ก ๒. วัยรุ่น ๓. วัยหนุ่มสำว ๔.

                       วัยผู้ใหญ่ และ ๕. วัยชรำ
                                     ๒) จัดกลุ่มตำมควำมต้องกำรหรือควำมรู้สึกของผู้ฟังธรรมะ แบ่งได้เป็น ๓ กลุ่ม คือ

                       ๑. พวกที่อยำกจะฟังอยู่แล้ว ๒. พวกที่รู้สึกเป็นกลำง และ ๓. พวกที่ไม่อยำกฟัง แต่ถูกเกณฑ์หรือ

                       บังคับมำฟังธรรมะ

                                 ๔.๔.๓  การวิเคราะห์ตนเอง

                                 พระธรรมทูตต้องรู้จักตนเอง ด้วยกำรวิเครำะห์ตนเอง เป็นกำรวิเครำะห์คุณลักษณะ
                       ต่ำง ๆ ของตัวพระธรรมทูต เพื่อให้ทรำบจุดแข็งและจุดอ่อนในกำรเป็นพระธรรมทูตสำยต่ำงประเทศ

                       เพื่อให้รู้จักตนเองอย่ำงแท้จริงว่ำ มีจุดแข็งด้ำนใดบ้ำง และมีจุดอ่อนที่ต้องกำรกำรฝึกฝนและพัฒนำ
                       ด้ำนใดบ้ำง โดยพิจำรณำจำกคุณสมบัติด้ำนต่ำง ๆ ที่ต้องใช้ในกำรท ำหน้ำที่เผยแผ่พระพุทธศำสนำ

                       ของพระธรรมทูตสำยต่ำงประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบกำรวำงแนวทำงกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำ




                                 ๗๕  พระทินวัฒน์ สุขสง, แนวทำงกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำในโลกตะวันตก”, วิทยานิพนธ์ศิลป

                       ศาสตร มหาบัณฑิต, คณะศิลปศำสตร์ สำขำวิชำพุทธศำสนศึกษำ ภำควิชำปรัชญำ  (มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์,
                       ๒๕๕๘), หน้ำ บทคัดย่อ.
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168