Page 159 - STRATEGIES FOR BUDDHISM PROPAGATION OF OVERSEAS DHAMMADUTA BHIKKHUS (PH.D.)
P. 159

๑๔๑





                       สร้ำง และได้รับอนุญำตให้เป็นสถำนที่ประกอบศำสนกิจได้ ตำมกรอบของตัวบทกฎหมำยของแต่ละ
                                                                                                ๖๔
                       ประเทศ จะมีข้อจ ำกัด ซึ่งทำงคณะสงฆ์หรือทำงวัดต้องท ำให้ถูกต้องตำมกฎหมำยบ้ำนเมือง
                                 ๓. ปัญหำร่วมมือกำรท ำงำนเผยแผ่กับผู้อื่นไม่เป็นเอกภำพ เช่น โครงกำรต่ำง ๆ ที่ต้อง
                       ติดต่อและมีกำรด ำเนินงำนในต่ำงประเทศ มีอุปสรรคที่ประสบเป็นหลัก คือ (๑) สถำนที่อยู่ไกลเกินไป

                       (๒) งบประมำณไม่มี อยำกให้รัฐบำลให้ควำมสนใจ เอำใจใส่มำกยิ่งขึ้น ปัจจุบันรัฐบำลเพียงแค่รับรู้ว่ำ

                       มีกำรสร้ำงวัด มีพระอยู่ประจ ำวัดเพื่อปฏิบัติศำสนกิจ ซึ่งแตกต่ำงจำก missionary ผู้เผยแผ่ศำสนำ
                       ของต่ำงประเทศ ที่ท ำกำรเผยแผ่ศำสนำไปทั่วโลก เพรำะว่ำมีงบประมำณและมีนโยบำยกำรท ำงำน

                                ๖๕
                       แบบเชิงรุก
                                 สรุปว่ำ ปัญหำที่ผู้ทรงคุณวุฒิมีควำมเห็นสอดคล้องกัน คืองบประมำณไม่เพียงพอ

                       บุคลำกรขำดแคลน ควำมร่วมมือในกำรท ำงำนที่ยังไม่เป็นเอกภำพ และควำมไม่สะดวกเนื่องจำก

                       สถำนที่อยู่ไกลเกินไป

                                 ๔.๓.๓  ปัญหาด้านการสอนธรรมด้วยภาษาอังกฤษ

                                 ๑. ปัญหำด้ำนกำรสอนกำรสื่อสำรกำรเผยแผ่ธรรมด้วยภำษำอังกฤษเกิดจำก (๑) ข้อจ ำกัด
                       เรื่องภำษำและศำสนำดั้งเดิมที่ชนประเทศนั้นนับถือ (๒) รูปแบบของเรื่องวัฒนธรรม เรื่อง

                       ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องศำสนพิธีและเรื่องพิธีกรรม (๓) กำรสอนธรรมพื้นฐำนในเชิงปริยัติ ไม่ได้

                                             ๖๖
                       เน้นเรื่องวิปัสสนำกรรมฐำน  (ซึ่งไม่ถูกกับจริตของชำวต่ำงประเทศ)
                                 ๒. บุคลำกรคือพระธรรมทูตไม่เชี่ยวชำญเรื่องภำษำ จ ำเป็นต้องมีกำรฝึกอบรม และต้อง

                       เรียนรู้ภำษำถิ่นของผู้ที่อำศัยอยู่ในถิ่นนั้น ๆ เป็นอีกภำษำหนึ่งด้วย เพรำะจ ำเป็นต้องใช้ภำษำท้องถิ่น
                       ในกำรสื่อสำรมำกขึ้น เพรำะฉะนั้น ก็ต้องไปเรียนภำษำท้องถิ่นเพิ่มเติม เพื่อที่จะสื่อสำร ต้องใช้ ๒

                       ภำษำส ำหรับกำรเผยแผ่ เช่น กำรเทศน์ธรรมะให้น่ำสนใจ และมีประโยชน์ต่อผู้ฟัง
                                                                                         ๖๗
                                 ๓. ปัญหำหลักในกำรเผยแผ่ธรรมของพระธรรมทูตคือภำษำต่ำงประเทศเป็นปัญหำส ำคัญ
                       เนื่องจำกหำบุคลำกรที่เก่งภำษำอังกฤษค่อนข้ำงยำก กำรใช้ภำษำอังกฤษได้ดีจะช่วยให้สื่อสำรได้ดีขึ้น

                       เหมือนติช นัท ฮันห์ ภิกษุชำวเวียดนำมที่เก่งภำษำและสอนกรรมฐำนแนวสติสัมปชัญญะ ส่วน



                                 ๖๔  สัมภำษณ์ พระมหำศักดิ์ชำย โกวิโท, รักษำกำรผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนวิทยำลัย วิทยำลัยพระธรรม
                       ทูต มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๖ มีนำคม, ๒๕๖๒.
                                 ๖๕  สัมภำษณ์ พระมหำหรรษำ ธมฺมหำโส, รศ. ดร., ผู้อ ำนวยกำรวิทยำลัยพุทธศำสตร์นำนำชำติ

                       มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๑๕ เมษำยน ๒๕๖๒.
                                 ๖๖  สัมภำษณ์ พระกิตติโสภณวิเทศ (เศรษฐกิจ สมำหิโต), ประธำนสหภำพพระธรรมทูตไทยในโอเชีย
                       เนีย, ๑๕ เมษำยน ๒๕๖๒.

                                 ๖๗  สัมภำษณ์ พระวิเทศรัตนำภรณ์, ดร. (ถนัด อตฺถจำรี), เลขำธิกำรสมัชชำสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกำ,
                       ๕ ธันวำคม ๒๕๖๑.
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164