Page 213 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 213

๒๑๙


                  หากเก็บรักษา ไว้วันหนึ่งๆ เกินหนึ่งหมื่นบาท จะตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินเพียง ๒ รูป/คน ก็ได้ โดย
                  กรรมการต้องตรวจนับตัวเงินและหลักฐานแทนตัวเงิน (ถ้ามี) เมื่อสิ้นวันท าการพร้อมทั้งลงลายมือชื่อ
                  กรรมการทุกคนไว้ในรายงานเงินคงเหลือประจ าวันนั้นด้วย และน าเสนอผู้บริหารโรงเรียนทราบ

                         ๗. หน้าบัญชีในสมุดเงินสดให้ใช้หน้าบัญชีเงินฝากธนาคารและบัญชีแยกประเภท เช่น เบิกเงินฝาก
                  ธนาคารให้ใส่ตัวย่อเป็นหน้าบัญชี ธ.๑ รายรับเงินอุดหนุนที่ใส่สมุดเงินสดหน้า ๑ ก็ให้ใส่ตัวย่อเป็นหน้าบัญชี
                  ย.๑ ในสมุดเงินสดและในบัญชีแยกประเภท หน้าบัญชีให้ใส่ งส.๑ คือยกมาจากสมุดเงินสดหน้า ๑

                         ๘. การลงบัญชีในสมุดเงินสด และสมุดบัญชีแยกประเภท จะต้องน าเลขที่ใบเสร็จรับเงินและ
                  จ่ายเงินมาลงบัญชีในช่อง “ที่เอกสาร” ของสมุดบัญชีทุกครั้ง


                  ๖. การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการจัดท าและจัดหาพัสดุ


                         การควบคุมทรัพย์สินหรือพัสดุ
                         พัสดุ หมายถึง วัสดุและครุภัณฑ์
                         วัสดุ หมายถึง วัสดุส านักงาน  เครื่องเขียน  แบบพิมพ์ เครื่องใช้ส านักงานต่างๆ ที่มีมูลค่าต่ ากว่า
                  ๕,๐๐๐ บาท

                         ครุภัณฑ์ หมายถึง เครื่องใช้ส านักงาน ที่มีมูลค่าตั้งแต่ ๕,๐๐๐ บาท ขึ้นไป เช่น เครื่องปรับอากาศ
                  เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นต้น
                         ๑. การควบคุมวัสดุ

                             ๑.๑ ใช้ระบบบัญชีที่ใช้ตามแบบตัวอย่างที่ก าหนด เมื่อได้รับสิ่งของวัสดุ ให้เจ้าหน้าที่จัดท าบัญชี
                  ก่อน โดยลงบัญชีวัสดุแยกเป็นชนิด และจัดเก็บบัญชีอย่างเป็นระบบง่ายและสะดวกในการค้นหา จึงจะให้
                  เบิกใช้ได้ การลงบัญชีให้แสดงจ านวนสิ่งของ ราคาที่เหลือครั้งสุดท้าย รับใหม่ และจ่ายให้เท่าใด ทุกคราว
                  และให้เก็บหลักฐาน การรับจ่ายไว้
                             ๑.๒ รายละเอียดการรับพัสดุ ได้แก่ ใบตรวจรับพัสดุ หลักฐานการับเงินบริจาคพัสดุ หลักฐาน

                  แสดงการรับพัสดุจากหน่วยงานอื่นมอบให้ น าลงบัญชีพัสดุ
                             ๑.๓ หลักฐานการรับพัสดุ ได้แก่ ใบเบิกพัสดุ
                             ๑.๔ การอ้างอิงหลักฐาน การรับ – จ่าย ให้ล าดับเป็นปีงบประมาณ

                         ๒. การควบคุมครุภัณฑ์
                             ๒.๑ จัดท าทะเบียนครุภัณฑ์หรือทะเบียนคุมทรัพย์สินเป็นไปตามเกณฑ์คือทรัพย์สินที่มีมูลค่า
                  ตั้งแต่ ๕,๐๐๐ บาทขึ้นไป ให้เจ้าหน้าที่จัดท าทะเบียนครุภัณฑ์ โดยเขียนหมายเลขไว้ในทะเบียนให้ตรงกับ
                  หมายเลขที่ให้ไว้กับครุภัณฑ์ทุกชิ้น และแสดงรายการสิ่งของ ขนาด จ านวนราคาให้ชัดเจนและแจ้งไว้ด้วยว่า

                  น าไปใช้ที่ใด
                             ๒.๒ กรณีทรัพย์สินที่ค านวณ การตีราคาแล้วเหลือมูลค่าสิทธิเหลือศูนย์บาท แต่ยังไม่สามารถใช้
                  งานให้คงมูลค่าสุทธิเหลือ ๑ บาท แทน
                             ๒.๓ การซ่อมแซมครุภัณฑ์ ให้บันทึกไว้ด้านหลังของทะเบียนคุมทรัพย์สิน


                             การรายงานตรวจสอบพัสดุประจ าปี ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่
                  ตรวจสอบพัสดุประจ าปี และด าเนินการตรวจสอบพัสดุตั้งแต่วันท าการแรกของปีถัดไป และรายงานผลให้

                  ผู้อ านวยการสถานศึกษา หรือผู้ได้รับแต่งตั้ง ทราบภายใน ๓๐ วันท าการ


                                                                                          คู่มือการปฏิบัติงาน
                                                                      โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218