Page 17 - เรื่อง ความน่าจะเป็น รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม. 5
P. 17

17  เรื่อง ความน่าจะเป็น รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม. 5





                             ตัวอย่าง ถ้ำ E เป็นเหตุกำรณ์ที่ได้แต้มเป็นจ ำนวนคู่หรือจ ำนวนคี่จำกกำรทอดลูกเต๋ำลูกครั้ง

                                    6
                      เดียว ซึ่งเท่ำกับ   หรือ 1
                                    6
                             2. ควำมน่ำจะเป็นของปริภูมิตัวอย่ำง S มีค่ำเท่ำกับ 1


                             นั่นคือ  P(S) = 1

                             3. ควำมน่ำจะเป็นของเหตุกำรณ์ที่เป็นเซตว่ำงมีค่ำเท่ำกับ 0

                             นั่นคือ  P( ) 
                                           0
                      ตัวอย่างที่ 1 ในกำรโยนเหรียญหนึ่งอันสองครั้ง ให้ E เป็นเหตุกำรณ์ที่เหรียญขึ้นหัวหนึ่งครั้ง จงหำ

                      ควำมน่ำเป็นของ E

                      วิธีท า   ให้ “H” แทนเหรียญขึ้นหัว

                             ให้ “T” แทนเหรียญขึ้นก้อย

                             จะได้แซมเปิลสเปซ S และเหตุกำรณ์ E ซึ่งแทนด้วยเซตของคู่อันดับของผลลัพธ์ที่ได้จำกกำร

                      โยนเหรียญครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง ดังนี้

                              S  {(H ,H ), (H ,T ), (T ,H ), (T ,T )}

                              E  {(H ,T ), (T , H )}

                             ดังนั้น  (EP  )   2    1    5 . 0
                                           4   2


                      ตัวอย่างที่ 2 ถ้ำสุ่มครอบครัวที่มีบุตรสองคนมำครอบครัวหนึ่ง จงหำควำมน่ำเป็นของเหตุกำรณ์ที่

                      ครอบครัวนั้น

                             1) มีบุตรคนแรกเป็นชำย  บุตรคนที่สองเป็นหญิง

                             2) มีบุตรเป็นชำยอย่ำงน้อย 1 คน

                             3) ไม่มีบุตรชำยเลย

                      วิธีท า   ให้ ช แทนบุตรชำย    และ ให้ ญ แทนบุตรหญิง

                             แซมเปิลสเปซในที่นี้ คือ S = { (ช,ช) , (ช,ญ) , (ญ,ช) , (ญ,ญ) }

                             1) มีบุตรคนแรกเป็นชำย  บุตรคนที่สองเป็นหญิง

                            จะได้ว่ำ S = { (ช,ช) , (ช,ญ) , (ญ,ช) , (ญ,ญ) }

                            ดังนั้น n(S) = 4
   12   13   14   15   16   17   18   19