Page 11 - curriculum-rangsit
P. 11
8 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น 9
“นครรังสิต“
๑ ความเป็นมาในการจัดทำ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นควรได้รับการพัฒนาทักษะการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์รวมทั้ง
การให้ความส�าคัญกับการพัฒนาให้มีความพร้อมในการต่อยอดพัฒนาทักษะในทุกด้าน มีทักษะการท�างานและ การใช้ชีวิต
ที่พร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน วัยแรงงานเน้นการสร้างความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
การพัฒนาประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ทั้งทักษะขั้นพื้นฐาน ทักษะเฉพาะในวิชาชีพ ทักษะการเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ ทักษะการประกอบอาชีพอิสระ
อยู่ในห้วงเวลาของการปฏิรูปประเทศ การแข่งขันด้านเศรษฐกิจจะเข้มข้นมากขึ้น สังคมโลกจะมีความเชื่อมโยงใกล้ชิดกัน การเตรียมความพร้อมของก�าลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะ
มากขึ้นเป็นสภาพไร้พรมแดน การพัฒนาเทคโนโลยีจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและจะกระทบชีวิตความเป็นอยู่ เปลี่ยนแปลงโลกในอนาคตอย่างส�าคัญ ดังนั้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในทุกระดับและยกระดับ
ในสังคมและการด�าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างมาก ขณะที่ประเทศไทยมีข้อจ�ากัดของปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ การเรียนรู้ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน การปรับระบบการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนา
ในการขับเคลื่อนการพัฒนา เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ตลาดแรงงานส่วนใหญ่มีปัญหา คุณภาพครูทั้งระบบรวมถึงการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ทั้งในเรื่ององค์ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ สังคมขาดคุณภาพและมีความเหลื่อมล�้าสูงที่เป็นอุปสรรคต่อการยกระดับ นอกจากนี้ต้องให้ความส�าคัญกับการสร้างปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้
ศักยภาพการพัฒนา การพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนในระยะยาว ที่หลากหลาย ดังนั้นเด็กวัยเรียนต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ และ
และในสภาพปัจจุบันระดับคุณภาพในด้านความรู้ ทักษะ ทัศนคติของคนไทย รวมถึงระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย ทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพควบคู่กับการพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดีมีคุณธรรม
หลายด้านยังต�่ากว่าเป้าหมายและไม่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานความรู้ ปัญหาส�าคัญ จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตส�านึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับ
เช่น การศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทยยังมีปัญหาเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะเด็กวัยเรียนยังมีปัญหาด้านสติปัญญา เพราะ การเปลี่ยนแปลงรอบตัวที่รวดเร็วบนพื้นฐานของการมีสถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา
คุณภาพการศึกษาไทยอยู่ในระดับต�่า ประกอบกับการขาดการฝึกทักษะที่แปลงความรู้สู่ทักษะที่เพียงพอ การบ่มเพาะ สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคม
ให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพไม่เพียงพอ ประกอบกับการเลื่อนไหลของวัฒนธรรมต่างชาติที่เข้ามาในประเทศไทย ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
ผ่านสังคมยุคดิจิทัล ในขณะที่เด็กไทยจ�านวนไม่น้อยยังไม่สามารถคัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม ส�าหรับแนวทางการพัฒนาปรับเปลี่ยนคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรม
ส่งผลต่อวิกฤตค่านิยม ทัศนคติ และพฤติกรรมในการด�าเนินชีวิต การพัฒนาในระยะต่อไปจึงต้องให้ความส�าคัญกับ ที่พึงประสงค์ สถาบันทางการศึกษา หรือองค์กรที่สนับสนุนการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถส่งเสริมการพัฒนา
การวางรากฐานการพัฒนาคน (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒) ด้านต่างๆ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒) เช่น
ประเทศไทยต้องเร่งพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ในทุกด้าน ได้แก่ การเพิ่มการลงทุนเพื่อการวิจัยและ ๑) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย
พัฒนาการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมถึงการพัฒนาคนในภาพรวมให้เป็นคนที่สมบูรณ์ใน จิตสาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอดจากอบายมุขอย่างจริงจัง
ทุกช่วงวัยที่สามารถบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นสภาพแวดล้อมการด�าเนินชีวิตได้อย่างดีโดยเฉพาะอย่างยิ่ง พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการด�ารงชีวิตอย่างมีคุณค่า
การพัฒนาทุนมนุษย์จากการยกระดับคุณภาพการศึกษา การเรียนรู้ การพัฒนาทักษะ และยกระดับคุณภาพบริการ ๒) การพัฒนาหลักสูตรการสอนที่อิงผลงานวิจัยทางวิชาการและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
สาธารณสุขให้ทั่วถึงในทุกพื้นที่ พร้อมทั้งต้องส่งเสริมบทบาทสถาบันทางสังคมในการกล่อมเกลาสร้างคนดี มีวินัย ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่เน้นการพัฒนาทักษะส�าคัญด้านต่างๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิด
มีค่านิยมที่ดี และมีความรับผิดชอบต่อสังคม นอกจากนั้นในช่วงเวลาต่อจากนี้การพัฒนาต้องมุ่งเน้นการพัฒนาคน ความจ�า ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมินตนเอง
เชิงพื้นที่ซึ่งจะช่วยลดความเหลื่อมล�้าภายในสังคมไทยลง ดังนั้นจุดเน้นการพัฒนาที่ส�าคัญ อาทิ การพัฒนากลุ่ม
เด็กวัยเรียนให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ ทักษะชีวิตและทักษะทางสังคม เพื่อให้ ๓) การพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์
เติบโตอย่างมีคุณภาพ การหล่อหลอมให้มีค่านิยม ตามบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีทักษะทุกงานและการใช้ชีวิตที่พร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน
มีจิตส�านึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม การพัฒนาทักษะสอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จ�าเป็นต่อ ๔) การปรับกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับพัฒนาการ
การด�ารงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม เป็นต้น ของสมองแต่ละช่วงวัย เน้นพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ด้านวิศวกรรมศาสตร์ ด้าน
คณิตศาสตร์ ด้านศิลปะ และด้านภาษาต่างประเทศ
กระทรวงศึกษาธิการจึงมีแนวทางการพัฒนาปรับเปลี่ยนคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ
และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ สถาบันทางการศึกษา หรือองค์กรที่สนับสนุนการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถ
ส่งเสริม เน้นนโยบายส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบายและได้มาตรฐาน