Page 37 - นครรังสิตของเรา
P. 37
ชีวิตริมคลองรังสิต ในอดีต น�้าเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ฯลฯ
ในเรื่องราวของผู้คนที่มีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไทย ริมคลองรังสิตในอดีต ชาวบ้านจะจับสัตว์นานาชนิดด้วยเครื่องมือประเภทต่างๆ เช่น สวิง แห อวน ยอ
ถูกถ่ายทอดจากชาวบ้านที่เคยมีบ้านเรือนอยู่ย่านคลองรังสิตเมื่อประมาณ 50 ปี ลอบ ข่ายและเบ็ด เพื่อน�ามาเป็นอาหาร และยังใช้คลองที่ใสสะอาดเป็นเส้นทาง
ที่ผ่านมา มีภาพลักษณ์ของวิถีชาวบ้านท่ามกลางบรรยากาศของแมกไม้ที่เขียวครึ้มและ คมนาคมขนส่งสัญจรไปมาค้าขายไปมาหาสู่กันทางเรือ ที่นิยมในชีวิตประจ�าวันคือ
สายน�้าที่ใสสะอาดของคลองรังสิต และการที่มีชาวบ้านอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานซึ่งมา เรือบดเพราะมีขนาดเล็กกะทัดรัด นั่งได้ประมาณ 2 คน ถ้าต้องการขนส่งข้าวและพืชผล
อาศัยสายน�้าในคลองรังสิตเพื่ออุปโภคและบริโภค เริ่มตั้งแต่ใช้ดื่มกิน หุงต้มข้าวปลา ต่างๆ จ�านวนมากจะใช้เรือมาดและเรือชะล่า ซึ่งต้องใช้แจวและถ่อเป็นอุปกรณ์เพราะ
อาหาร อาบน�้าช�าระร่างกาย ซักผ้าและเครื่องนุ่งห่มต่างๆ ท�าความสะอาดเครื่องมือ มีน�้าหนักมาก แต่ถ้าไปจ่ายตลาดรังสิตหรือตัวเมืองจะมีเรือรับจ้าง เรียกว่า เรือเมล์ หรือ
เครื่องใช้และถือว่าน�้าเป็นลมหายใจของเกษตรกรที่ต้องพึ่งพาอาศัย เพื่อการเพาะปลูก เรือแท็กซี่เป็นเรือที่ใช้เครื่องจักรไอน�้า นอกจากนี้คลองรังสิตยังเป็นแหล่งวัฒนธรรม
พืชพันธุ์ธัญญาหารและเลี้ยงสัตว์นานาชนิด (เทียมจันทร์ อ�่าแหวว, 2556: 51-56) ท้องถิ่นที่แสดงให้เห็นในชีวิตประจ�าวันของชาวบ้าน เช่น พระพายเรือออกบิณฑบาต
ชาวบ้านรอใส่บาตรตามหัวสะพานหน้าบ้านบริเวณท่าน�้า และกิจกรรมประเพณีของ ภาพที่ 39 ตราสัญญลักษณ์เทศบาลนครรังสิต (เดิม)
ชุมชน และประเพณีการเล่นน�้าเทศกาลสงกรานต์ ประเพณีการแข่งเรือเป็นเทศกาล ที่มา: https://www.google.co.th/
ทอดกฐิน ประเพณีลอยกระทงในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง เป็นต้น เทศบำลนครรังสิต เดิมนั้นคือเทศบาลต�าบลประชาธิปัตย์ มีเขตปกครอง
ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดจ�านวน 6 หมู่บ้าน ซึ่งต�าบลประชาธิปัตย์นั้นเดิมชื่อต�าบล
บึงทะเลสาบ ขึ้นอยู่กับการปกครองของเมืองธัญญบูรี (เมืองธัญญบูรี จัดตั้งขึ้นเมื่อ
วันที่ 13 มีนาคม 2445) ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2475 ได้ยุบเป็นอ�าเภอธัญบุรีขึ้นกับจังหวัด
กำรจัดตั้งเทศบำลนครรังสิต
พ.ศ. 2537 สุขำภิบำลประชำธิปัตย์ได้ยกฐานะเป็น เทศบำลต�ำบล ปทุมธานี ในส่วนของการเปลี่ยนชื่อจากต�าบลทะเลสาบเป็นต�าบลบึงทะเลสาบนั้นยัง
ประชำธิปัตย์ ตามราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 111 ตอนที่ 94 ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน หาหลักฐานไม่พบ แต่จากการตรวจสอบหลักฐานการออกโฉนดที่ดินจากส�านักงาน
พ.ศ. 2537 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 ที่ดินจังหวัดปทุมธานี (สาขาธัญบุรี) การออกโฉนดครั้งแรกตั้งแต่รัตนโกสินทร์ศก 121
2 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 เทศบำลต�ำบลประชำธิปัตย์ได้จัดตั้งเป็นเทศบำลเมือง เป็นต้นมา ใช้ชื่อต�าบลว่า “บึงทะเลสาบ” ตลอดมาจนถึงปี พ.ศ. 2499 ออกโฉนดโดยใช้
และเปลี่ยนชื่อใหม่ เป็นเทศบำลเมืองรังสิต การจัดตั้งและเปลี่ยนชื่อเป็นไปตามพระราช ชื่อต�าบลว่า “ประชาธิปัตย์” และต่อมาในภายหลังเทศบาลต�าบลประชาธิปัตย์มีความ
กฤษฎีกา ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 120 ตอนที่ 36ก ลงวันที่ 1 พฤษภาคม เจริญเติบโตในด้านต่างๆ มากขึ้นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง จึงได้รับการจัดตั้ง
ภาพที่ 36 พ.ศ. 2546 (พระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งเทศบาลเมืองรังสิต, 2546: 18) เป็นเทศบาลเมืองและเปลี่ยนชื่อเป็น “รังสิต” เพื่อให้ตรงกับชื่อที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป
วิถีชีวิตริมคลองรังสิต บริเวณประตูน�้าจุฬาลงกรณ์ ไม่เกิดความสับสนในการติดต่อราชการ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนใน
ที่มา: www: rangsit.org ท้องถิ่น โดยเทศบาลเมืองรังสิตได้รับการจัดตั้งและเปลี่ยนชื่อตามพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งเทศบาลเมืองรังสิต พ.ศ. 2546 ต่อมาเทศบาลเมืองรังสิตได้รับการเปลี่ยนแปลง
34 นครรังสิตของเรา นครรังสิตของเรา 35