Page 32 - นครรังสิตของเรา
P. 32
คนไทย คือชนกลุ่มใหญ่ของประเทศไทย ที่เชื่อกันว่าสืบเชื้อสาแหรกมา
จากกลุ่มชาติพันธุ์ตระกูลไท-ลาว (Tai-Lao) ผู้คนดั้งเดิมของภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ได้ผสมกลมกลืนเข้ากับกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ เช่น เขมร มอญ จีน แขก ญวน
เป็นต้น จึงน่าเชื่อว่าในพื้นที่ปทุมธานีมีคนพื้นถิ่นรวมทั้งคนตระกูลต่างๆ ตั้งบ้านเรือน
อยู่ก่อนแล้วดังปรากฏร่องรอย “โคกยายมั่นบ้านเก่า”และ”ทุ่งพญาเมือง”และวัดร้าง
ในสมัยอยุธยาตลอดสองฟากฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาที่แสดงถึงการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน
และวัดวาอารามในสมัยโบราณก่อนการเข้ามาของพวกอื่นๆ เช่น มอญ ลาว กับพวก
ที่อพยพเข้ามาภายหลังในรูปของชุมชนการค้า เช่น จีน ญวน รวมทั้งกลุ่มที่เข้ามาท�า
การค้าและเผยแพร่ศาสนา เช่น โปรตุเกส ฮอลันดา เป็นต้น และเกิดการผสมกลมกลืน
กันทั้งด้านเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม เมื่อผ่านกาลเวลาเนิ่นนานได้นิยามตนเอง
ภาพที่ 27 นาหว่าน ภาพที่ 29 บริเวณอู่แห้งกรมชลประทานรังสิต
เป็นคนไทย (พิบูลย์ หัตถกิจโกศล, 2558: 26-27) ดังปรากฏคนไทยที่มีการตั้งถิ่นฐาน ภาพที่ 30 การอพยพของชาวมอญ
อยู่เดิมส่วนใหญ่อยู่ทุกพื้นที่ของบริเวณทุ่งพญาเมือง ทุ่งหลวงรังสิต และเขตรังสิตตั้งแต่ ที่มา: วีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย, 2558: 15.
สาเหตุที่มีผู้คนอพยพเข้ามาในเขตรังสิตมากขึ้นเป็นผลมาจากการขยายตัว อดีตจนถึงปัจจุบัน ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ถือได้ว่ามี
ของการส่งออกข้าว ประกอบกับความเชื่อมั่นในระบบชลประทานแบบใหม่นี้ว่าจะ คนมอญ การอพยพของมอญ ตั้งแต่สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ การอพยพชาวมอญครั้งใหญ่จากเมืองเมาะตะมะเข้าสู่ประเทศไทยเรียกว่า “มอญใหม่”
สามารถเพิ่มผลผลิตและแก้ปัญหาเรื่องน�้าได้ ท�าให้มีความสนใจลงทุนท�านากันมาก มักจะอยู่อาศัยในแถบพระนครศรีอยุธยา สามโคกและปากเกร็ด เพื่อเป็นก�าลังส�าหรับพระนคร พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่สามโคก
ขึ้น ตลอดจนมีการผลักดันไพร่และทาสที่เป็นอิสระให้เข้าไปท�างานยังพื้นที่การเกษตร ทั้งป้องกันข้าศึกศัตรูและท�าการเกษตรเลี้ยงผู้คน ซึ่งคาดการณ์ว่ามอญที่อพยพเข้า อีกเช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็ก บ้านสามโคกจึงกลายเป็นเมืองสามโคกในเวลา
ต่อมา จึงมีชาวมอญอาศัยเป็นจ�านวนมากในสามโคกมายาวนานตั้งแต่สมัยสมเด็จ
ใหม่ขึ้นมาอีกด้วย บริเวณทุ่งรังสิตจึงเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่รกร้าง กลายเป็นบริเวณที่ มาตั้งชุมชนยังเมืองสามโคกตั้งแต่เมื่อครั้งสมัยอยุธยาตอนปลายนั้นคงจะได้กลืน พระนารายณ์มหาราช ท�าให้มอญและไทยมีความกลมกลืนใกล้ชิดทั้งด้านเชื้อชาติ
มีผู้คนอยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ประกอบด้วยคนไทย กลายเป็นคนไทยไปหมดแล้วในปัจจุบัน (วีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย, 2558: 34-35) ส่วนชาวมอญ วัฒนธรรมและศาสนามาถึงทุกวันนี้ ดังปรากฏพื้นที่ชุมชนมอญอาศัยอยู่ริมคลองรังสิต
คนมอญ คนจีน คนมุสลิม (แขก) คนญวนและคนคริสเตียน มาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน ที่อพยพมาอยู่เมืองปทุมธานี ในอดีตอพยพมา 3 ยุค 3 สมัย คือสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้แก่บริเวณใกล้กับวัดเขียนเขต
อย่างต่อเนื่องและผสมกลมกลืนกัน ตามประวัติความเป็นมากลุ่มคนเหล่านี้ เกิดจาก แผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรุงธนบุรี สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คนจีน มีบทบาทแทบทุกพื้นที่ของประเทศไทย ส�าหรับจังหวัดปทุมธานีคนจีน
ผลพวงจากการกวาดต้อนผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในยามสงครามช่วงต้นสมัย และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งโปรดฯ 3 กลุ่มได้แก่ แต้จิ๋ว ไหหล�า และฮกเกี้ยนส่วนใหญ่อพยพมาในสมัยรัชกาลที่ 5-6 โดย
ภาพที่ 28 ชาวเมืองได้ใช้ประโยชน์จากคลองรังสิตประยูรศักดิ์ ทางการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน รัตนโกสินทร์ ยกเว้นคนมอญที่เข้ามาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายในบริเวณทุ่งพญาเมือง ให้ตั้งบ้านเรือนที่เมืองปากเกร็ดและสามโคก เฉพาะช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเข้ามาท�ามาหากินในบริเวณสามโคกเป็นสถานที่
บริเวณประตูด�าถ่ายไปทางด้านข้างบ้านผู้ใหญ่ลี(บิดา สท.พรพักตร์) สามโคก และขยับขยายอพยพโยกย้ายถิ่นฐานมาตั้งถิ่นฐานในเขตพื้นที่รังสิต แรกเริ่มของคนจีน สมัยก่อนจะอาศัยบนแพและประกอบอาชีพค้าขาย รับจ้าง
ท�าสวนผัก และงานฝีมือประเภทช่างเงิน ช่างทอง (พิบูลย์ หัตถกิจโกศล, 2558: 41-42)
28 นครรังสิตของเรา นครรังสิตของเรา 29