Page 30 - นครรังสิตของเรา
P. 30

โครงกำรป่ำสักใต้                                                              ทั้งโครงการรังสิตและโครงการป่าสักใต้ส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณ
                โครงการป่าสักใต้ก�าหนดให้มีการสร้างเขื่อนกั้นน�้า(Barrage) ในแม่น�้าป่าสักที่ ทุ่งรังสิตขยายตัวขึ้นจะเห็นได้ชัดในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ปรับปรุงระบบ

         จังหวัดสระบุรี แล้วสร้างระบบคลองส่งน�้าเข้ายังเขตรังสิต โครงการเริ่มในปี พ.ศ.2458  ชลประทานค่อนข้างสมบูรณ์  จนเป็นแหล่งปลูกข้าวขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศ
         แต่ติดขัดที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 การก่อสร้างมาเสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ.2465  มีผลผลิตเฉลี่ยต่อปีสูงของปริมาณผลผลิตข้าวทั้งหมดของภาคกลาง  นอกจากนั้นยังมี

                โครงการป่าสักใต้ การชลประทานส่วนใหญ่มุ่งมาที่เขตรังสิต มีการส่งน�้าให้แก่ การส่งเสริมการปลูกข้าวทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และในปี พ.ศ. 2449  ได้มีการน�า
         เขตรังสิตร้อยละ 80 อีกร้อยละ 20 ส่งให้กับบางส่วนของอยุธยาและสระบุรี จุดมุ่งหมาย  เครื่องจักรไถนามาทดลองใช้เป็นครั้งแรกที่บริเวณคลองที่ 1 และจัดให้มีการประกวด
         ที่ส�าคัญที่สุดของโครงการนี้คือการรักษา ระดับผลผลิตให้คงที่ กล่าวคือ ท�าให้ข้าว พันธุ์ข้าวขึ้นเป็นครั้งแรกที่รังสิตเมื่อ พ.ศ. 2540 เพื่อกระตุ้นให้ชาวนาคัดเลือกพันธุ์ข้าว

         ในปีที่ดินฟ้าอากาศธรรมดา ได้ผลผลิตดียิ่งขึ้น  ขณะที่ในปีที่ดินฟ้าอากาศไม่ปกติซึ่งข้าว ซึ่งข้าวจากเขตรังสิตได้รับยกย่องว่ามีคุณภาพดี ตลอดจนมีการตั้งสถานีทดลองพันธุ์ข้าว
         เสียหายระบบชลประทานจะช่วยให้ได้ผลผลิตในระดับปกติ  จุดมุ่งหมายในแง่นี้นับว่า ขึ้นที่รังสิต เพื่อค้นหาพันธุ์ข้าวที่ดีมาแนะน�าเกษตรกร

         ประสบความส�าเร็จ ความเสียหายในการท�านาลดลง (สุนทรี  อาสะไวย์, 2538: 42)

 ภาพที่ 23 วิถีชีวิตอันสงบสุขของประตูน�้าจุฬาลงกรณ์
    3. ยุคแห่งกำรพัฒนำเกษตรกรรม (พ.ศ. 2475-2500)
 ถ่ายจากคลองถง ทางสะพานรถไฟข้างโรงพักเก่าด้านหลังสุดประตูด�าระบายน�้า
    แม้การปลูกข้าวได้เฟื่องฟูขึ้นพร้อมๆ กับการบุกเบิกที่ดินในเขตรังสิตแต่

 ยุคของการพัฒนาเกษตรกรรม  โดยเฉพาะในการผลิตข้าวได้เริ่มขึ้นอย่างจริงจัง
 เมื่อเขตรังสิตได้เป็นเขตแรกที่รัฐบาลตกลงใจเข้าไปพัฒนาระบบชลประทานตาม

 โครงการป่าสักใต้  และโครงการนี้ได้มีผลอย่างจริงจังในทศวรรษ 2470  เมื่อการปลูก
 ข้าวในเขตนี้อยู่ภายใต้การควบคุมโดยชลประทาน  มีผลท�าให้สามารถผลิตข้าวได้ใน
 ปริมาณที่สม�่าเสมอและแน่นอน  รวมถึงสามารถขยับขยายพื้นที่การผลิตข้าวให้กว้างขวาง

 ยิ่งขึ้นในทศวรรษถัดมา  (สุนทรี  อาสะไวย์, 2538: 38)
    การพัฒนาของเขตรังสิตก่อนการขุดคลอง เป็นการท�านาด�าซึ่งสามารถท�าได้

 เฉพาะในบริเวณที่ดอนที่น�้ายังไม่ท่วมขังนานเกินไป  แต่เมื่อมีการขุดคลองในโครงการ
 รังสิต แล้วการท�านาในเขตนี้ได้เปลี่ยนมาท�านาหว่านแทน และจากจุดเริ่มต้นของการ

 ภาพที่ 24 ประตูน�้าจุฬาลงกรณ์ มองไปแถวต้นสน เป็นสถานีต�ารวจจุฬาลงกรณ์เก่า  บุกเบิกผืนแผ่นดินทุ่งหลวงรังสิต มีการพัฒนาการปลูกข้าวสืบเนื่องเป็นเวลาค่อนข้าง    ภาพที่ 26 นาด�า
 เรือที่ดูจมความจริงเป็นเรือทรายที่ลากมาเข้าประตูน�้าจุฬาลงกรณ์   ยาวนานถึงสมัยรัชกาลที่ 6 ระหว่างปี พ.ศ.2444-2457 (สุนทรี   อาสะไวย์, 2538:   ภาพที่ 25 วิถีชีวิตที่ทุ่งรังสิต
 ที่มา: www: rangsit.org  38-39)

 26  นครรังสิตของเรา                                                                                                               นครรังสิตของเรา     27
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35