Page 57 - ASEAN ICT Masterplan 2020
P. 57

32




 มำตรกำร   หลักกำรและเหตุผล/หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง   กรอบเวลำ   แผนงำน นประเทศที่เกี่ยวข้อง
 ยุทธศำสตร์ที่ 5: พัฒนำทุนมนุษย์ทุกวัย เพื่อรองรับกำรแข่งขันที่เข้มข้นขึ้นจำกกำรเข้ำสู่ประชำคมอำเซียน (ต่อ)
    จุดเด่นของระบบ MOOCs นี้ คือผู้เรียนสำมำรถเลือกเนื้อหำได้อย่ำงอิสระ ตรงกับควำมต้องกำรเพื่อพัฒนำทักษะของ
 ผู้เรียนรู้ ซึ่งอำจเป็นแนวทำงหนึ่งประเทศไทยอำจน ำมำใช้ได้ เพื่อบรรเทำป ญหำที่เกิดขึ้นกับหลักสูตรกำรศึกษำทั่วไป
 และเพื่อเปิดโอกำสกำรเรียนรู้ที่เข้ำถึงได้ง่ำย

 ข้อเสนอแนะ
 ประเทศไทยควรจัดท ำแพลตฟอร์มกำรเรียนรู้แบบ MOOCs ขึ้นในประเทศไทย โดยอำจเป็นกำรริเริ่มโดยภำครัฐ และ
 เปิดโอกำสให้สถำบันกำรศึกษำต่ำงๆ หรือผู้ประกอบกำรเอกชนในภำคกำรศึกษำ มีส่วนร่วมกับกำรสร้ำงคอร์สกำร
 เรียนรู้ออนไลน์
 5.3)  เสริมสร้ำงทักษะไอซีทีขั้นพื้นฐำนให้แรงงำน เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรได้เข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมทำงเศรษฐกิจในทุกภำคส่วน ทักษะกำรใช้งำน 2560 – 2562     แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
 ชำวไทย    ขั้นพื้นฐำนจึงเป็นสิ่งที่ขำดไม่ได้ในทุกอุตสำหกรรม รัฐบำลจึงควรทบทวนหลักสูตรกำรเรียนกำรสอนภำคบังคับ และ  สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 5
 รวมกำร  ก นทักษะกำรใช้งำนเข้ำไปในหลักสูตร รวมถึงส่งเสริมให้เยำวชนหันมำให้ควำมสนใจกับแนวโน้มของ
 เทคโนโลยีชนิดใหม่ๆ เพื่อให้ก้ำวทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นกับสภำวะทำงเศรษฐกิจ

 ทั้งนี้ หำกพิจำรณำเฉพำะอุตสำหกรรมเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร พบว่ำก ำลังประสบป ญหำกำรขำดแคลน
 แรงงำน ทั้งในด้ำนจ ำนวนและทักษะควำมสำมำรถของบัณฑิตที่พร้อมเข้ำท ำงำน โดยมีสำเหตุจำกสองป จจัยหลัก คือ
 (1) เยำวชนให้ควำมสนใจกับกำรใช้งำนเทคโนโลยี แต่มีเพียงส่วนน้อยที่เลือกศึกษำด้ำนวิทยำศำสตร์คอมพิวเตอร์ใน
 ระดับมหำวิทยำลัย และ (2) หลักสูตรกำรเรียนกำรสอนของมหำวิทยำลัยยังไม่สำมำรถสร้ำงบุคลำกรได้ตรงควำม
 ต้องกำรของตลำดแรงงำน ซึ่งส่งผลให้ผู้ประกอบกำรชำวไทยต้องหันไปว่ำจ้ำงแรงงำนจำกประเทศอื่นมำกยิ่งขึ้น

 ข้อเสนอแนะ
 กำรแก้ไขป ญหำนี้ควรเป็นทั้งในด้ำนกำรเพิ่มปริมำณและคุณภำพของบัณฑิตที่จบกำรศึกษำในสำขำวิทยำศำสตร์
 คอมพิวเตอร์ โดยในมิติแรก ภำครัฐควรด ำเนินนโยบำยเพื่อกระตุ้นให้เยำวชนเกิดควำมสนใจต่อสำยอำชีพ โดยแนะ
 แนวผู้ศึกษำถึงโอกำสและเส้นทำงอำชีพ (Career Path) ที่เป็นไปได้ และในอีกมิติหนึ่ง ควรเร่งด ำเนินกำรพัฒนำ
 หลักสูตร หรือแนะแนวผู้ศึกษำในประเทศไทยให้เข้ำใจถึงควำมต้องกำรของอุตสำหกรรมเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร
 สื่อสำรของไทยและของประเทศสมำชิกในอำเซียน







                         ส ำนักงำนปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62