Page 54 - ASEAN ICT Masterplan 2020
P. 54

31




                                     ตำรำงที่ 5 มำตรกำรภำย ต้ยุทธศำสตร์ที่ 5 ของแผนทิศทำงเพื่อรองรับกำรด ำเนินงำนของประเทศไทย

                                                 ตำมแผนแม่บทเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรของอำเซียน พ.ศ. 2563
                    มำตรกำร                                      หลักกำรและเหตุผล/หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง                      กรอบเวลำ     แผนงำน นประเทศที่เกี่ยวข้อง
       ยุทธศำสตร์ที่ 5: พัฒนำทุนมนุษย์ทุกวัย เพื่อรองรับกำรแข่งขันที่เข้มข้นขึ้นจำกกำรเข้ำสู่ประชำคมอำเซียน
       5.1)  อ ำนวยควำมสะดวกในกำรเข้ำมำท ำงำนของ จำกรำยงำนผลส ำรวจกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรในสถำนประกอบกำร พ.ศ. 2558 ระบุไว้ว่ำ 2560 – 2561      แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
           บุคลำกรผู้เชี่ยวชำญจำกต่ำงประเทศ ทั้งจำก อุตสำหกรรมเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรยังขำดแคลนบุคลำกรอยู่จ ำนวน 13,169 คนในปี 2558 โดยเป็น  สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 5
           ในอำเซียน และนอกอำเซียน          บุคลำกรในด้ำนต่ำงๆ เช่น ผู้ท ำงำนด้ำนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ นักออกแบบและวิเครำะห์ระบบคอมพิวเตอร์
                                            โปรแกรมเมอร์ ผู้บริหำรเทคโนโลยีสำรสนเทศระดับสูง และอื่นๆ ซึ่งประเทศไทยอำจมีควำมจ ำเป็นต้องทดแทนก ำลัง
                                            แรงงำนชำวไทยเหล่ำนี้ด้วยบุคลำกรชำวต่ำงชำติเป็นกำรชั่วครำว เพื่อให้กำรเติบโตของอุตสำหกรรมเป็นไปได้อย่ำง
                                            ต่อเนื่อง

                                            ข้อเสนอแนะ
                                            ประเทศไทยควรอ ำนวยควำมสะดวกกำรเข้ำมำท ำงำนของบุคลำกรผู้เชี่ยวชำญจำกต่ำงประเทศ รวมถึงกำรให้สิทธิ
                                            ประโยชน์ทำงด้ำนภำษีกับบุคลำกรเหล่ำนี้ เพื่อสนับสนุนกำรเติบโตของธุรกิจเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรใน
                                            ประเทศไทย และนอกจำกนี้ ประเทศไทยควรกระตุ้นผู้ประกอบกำรให้ใช้ประโยชน์จำกข้อตกลงยอมรับร่วมกันในเรื่อง
                                            คุณสมบัติ (Mutual Recognition Arrangements: MRA) เพื่ออ ำนวยควำมสะดวกกำรเคลื่อนไหวของบุคลำกร
                                            ผู้เชี่ยวชำญในอำเซียน โดยอำเซียนได้ได้เปรียบเทียบมำตรฐำนทักษะแรงงำนในอุตสำหกรรมเทคโนโลยีสำรสนเทศ
                                            และกำรสื่อสำรเสร็จสิ้นไปแล้ว ภำยใต้โครงกำร  ASEAN ICT Skill Standards Definition and Certification ที่
                                            ด ำเนินกำรไปในปี 2555 และควรพัฒนำต่อยอดมำตรฐำนนั้นให้ครอบคลุมทักษะเฉพำะเจำะจงมำกยิ่งขึ้น และเพิ่มเติม
                                            ข้อมูลของประเทศสมำชิกอำเซียนที่เพิ่งจัดท ำกรอบมำตรฐำนทักษะแรงงำนเสร็จสิ้นเมื่อเร็วนี้
       5.2)  จัดท ำคลังสื่อกำรเรียนรู้ออนไลน์แบบ MOOCs  ควำมท้ำทำยต่อระบบกำรศึกษำไทยและทั่วโลกในป จจุบัน คือกำรปรับปรุงหลักสูตรกำรเรียนกำรสอนและเนื้อหำให้ทัน 2561 – 2562     แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
           ที่ประชำชนทั่วไปสำมำรถเข้ำถึงได้ผ่ำน ต่อควำมเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจและสังคมที่มีพลวัตสูงขึ้น อันเป็นผลต่อเนื่องจำกกำรใช้งำนเทคโนโลยีประเภท  สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 5
           อินเทอร์เน็ต                     ใหม่ๆ ซึ่งกำรศึกษำประเภท Massively Open Online Courses (MOOCs) เป็นแนวทำงหนึ่งที่ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อ
                                            แก้ป ญหำนี้ โดยนักเรียนจะสำมำรถเข้ำถึงเนื้อหำกำรเรียนกำรสอนได้ผ่ำนอินเทอร์เน็ต และหลักสูตรจะมีควำม
                                            หลำกหลำย มีควำมทันสมัย ซึ่งผู้เรียนรู้สำมำรถเลือกประเด็นที่จะศึกษำได้ตำมควำมถนัดและควำมต้องกำร และเป็น
                                            กำรลดต้นทุนทำงกำรเรียนรู้ ทั้งนี้ มีระบบกำรเรียนรู้แบบ MOOCs ที่ประสบควำมส ำเร็จหลำยส ำนักทั่วโลก ทั้งที่เป็น
                                            องค์กรแบบไม่หวังผลก ำไร และบริษัทเอกชน และมีผู้จัดท ำสื่อกำรเรียนรู้ที่เป็นสถำบันกำรศึกษำชั้นน ำ ได้แก่
                                            Coursera, EdX หรือ Udacity เป็นต้น



                                                                                                             ส ำนักงำนปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59