Page 50 - ASEAN ICT Masterplan 2020
P. 50

29




                    มำตรกำร                                      หลักกำรและเหตุผล/หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง                      กรอบเวลำ     แผนงำน นประเทศที่เกี่ยวข้อง
       ยุทธศำสตร์ที่ 4: พัฒนำ Digital Government ที่เน้นประชำชนเป็นศูนย์กลำง และบูรณำกำรกำรท ำงำนของภำครัฐผ่ำน Cloud และ Open Data (ต่อ)
                                            ข้อเสนอแนะ
                                            ประเทศไทยจึงควรด ำเนินกำรดังต่อไปนี้
                                              พัฒนำ Government Open Data Platform อย่ำงต่อเนื่อง ทั้งในเชิงปริมำณข้อมูล และควำมซับซ้อนของชุด
                                               เครื่องมือกำรวิเครำะห์ข้อมูล เพื่อกระตุ้นกำรสร้ำงมูลค่ำเพิ่ม
                                              พัฒนำ G-Cloud ให้เป็น Platform กลำงของหน่วยงำนภำครัฐที่ใช้ในกำรบูรณำกำรข้อมูลระหว่ำงกัน และมีชุด
                                               เครื่องมือกำรวิเครำะห์ข้อมูล (Data Analytics Tool)
                                              สร้ำงควำมร่วมมือกับประเทศสมำชิกอำเซียนในเรื่อง Government Open Data และพัฒนำต่อยอดเพื่อจัดท ำ
                                               ASEAN Open Data Network
       4.4)  เร่งพัฒนำบริกำรอิเล็กทรอนิกส์ของภำครัฐที่ ในป จจุบัน มีหน่วยงำนภำครัฐบำงแห่งเท่ำนั้นที่สำมำรถให้บริกำรประชำชนผ่ำนระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่ำงครบวงจร  2560 – 2563     แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
           เน้นประชำชนเป็นศูนย์กลำง (Citizen- กล่ำวคือ ประชำชนสำมำรถท ำธุรกรรมกับภำครัฐผ่ำนระบบอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่ต้องใช้เอกสำรหรือติดต่อกับ  สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 4
           Centric) และก ำหนดกลไกในกำรผลักดัน เจ้ำหน้ำที่ผู้ให้กำรดูแลแบบตัวต่อตัว ทั้งนี้ ส ำนักงำนรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กำรมหำชน) ได้จัดท ำพัฒนำรัฐบำล
           อย่ำงต่อเนื่อง                   ดิจิทัลของประเทศ พ.ศ. 2560 – 2561 โดยได้ให้ข้อเสนอแนะทั้งในด้ำนกำรวำงระบบบริหำรจัดกำรภำยใน ระบบกำร
                                            สื่อสำรหรือกำรท ำธุรกรรมระหว่ำงหน่วยงำนภำครัฐ รวมถึงรูปแบบกำรให้บริกำรอิเล็กทรอนิกส์ที่ตอบสนองควำม
                                            ต้องกำรของประชำชน ถึงกระนั้น กำรพัฒนำรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์ยังขำดกำรผลักดันอย่ำงเป็นรูปธรรม ไม่มีหน่วยงำน
                                            ผู้มีอ ำนำจสั่งกำรในด้ำนนี้ ซึ่งท ำให้กำรพัฒนำเป็นไปได้ช้ำกว่ำที่ควร ทั้งนี้ ตัวอย่ำงกำรพัฒนำรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์ที่
                                            ประเทศไทยอำจน ำมำเป็นแบบอย่ำงได้คือประเทศสิงคโปร์ ที่ได้ก ำหนดให้ Infocomm Development Authority (IDA)
                                            ให้เป็นหน่วยงำนผู้ก ำกับดูแลกำรพัฒนำระบบอิเล็กทรอนิกส์ในหน่วยงำนภำครัฐโดยเฉพำะ


                                            ข้อเสนอแนะ
                                            ประเทศไทยจึงควรด ำเนินกำรดังต่อไปนี้
                                              เร่งพัฒนำรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์และบริกำรอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงำนภำครัฐตำมแผนพัฒนำรัฐบำลดิจิทัลของ
                                               ประเทศ พ.ศ. 2560 – 2564 และแผนอื่นๆ หลังจำกนั้น
                                              จัดท ำมำตรฐำนบริกำรอิเล็กทรอนิกส์ของภำครัฐ โดยค ำนึงถึงคุณภำพกำรให้บริกำร และควำมสำมำรถในกำร
                                               เข้ำถึงของกลุ่มผู้สูงอำยุ และผู้พิกำร
                                              วำงกลไกผลักดัน และจัดตั้งคณะท ำงำนเพื่อพัฒนำบริกำรอิเล็กทรอนิกส์และเว็บไซต์ภำครัฐต่ำงๆ ให้มีควำม
                                               ทันสมัยอย่ำงต่อเนื่อง





                                                                                                             ส ำนักงำนปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55