Page 167 - Full paper สอฉ.3-62
P. 167

st
             การประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา ระดับชาติ ครั้งที่ 2                                  2 National Conference onVocational Education
             วันที่  6  กันยายน 2562 จ.มหาสารคาม                                                                                          Innovation and Technology
                                                                                                        6 September 2019 , Mahasarakham , THAILAND


                                การศึกษาวิธีการลดขั้นตอนในการตรวจสอบปลายหัวฉีดน ้ามันเชื้อเพลิง

                                  The Study Methods for Optimize of Inspecting Fuel Nozzle Tip
                                                    ประภาส  ก ามหาวงษ์ 1


                       1 ภาควิชาเทคโนโลยีเทคโนโลยีการผลิต วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3

             บทคัดย่อ                                          ที่ลูกค้าต้องการ และพัฒนาคุณภาพของสินค้า เพื่อเพิ่มความ

                 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์1)เพื่อสร้าง Jig. Check Length   เชื่อมั่น เนื่องจากสถานประกอบการนั้นผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
             and Run out. 2 in 1 2)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบริษัทต่อ  จึงต้องหาเพื่อเพิ่มยอดการผลิตให้ได้มากขึ้นจากเดิม ในส่วน

             การลดเวลาในขบวนการ Checkปลายหัวฉีด กลุ่มตัวอย่างที่  งานประกอบหัวฉีด ที่ได้เห็นปัญหาการผลิตที่ไม่สามารถท า
             ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานของบริษัท ที่ท าหน้าที่   การผลิตได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ ซึ่งปัญหาที่เกิดจากปัจจัย
             Check Length and Run out. จ านวน 7 คนโดยการเจาะจง  หลายๆอย่าง เช่น เปลี่ยน Type Model บ่อย (เปลี่ยนรุ่น)

             กลุ่มตัวอย่าง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบ   ปัญหาเครื่องจักร Break down (เครื่องจักรเสีย) พนักงานไม่
             สอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale ) 5   พร้อมท างาน ความยากล าบากในการท างาน เป็นต้น   จึงได้
             ระดับ มีค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์  หาสาเหตุปัญหาที่เกิดขึ้น ว่าท าไมการผลิตนั้นไม่ได้ตาม

             ส าเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่า ความถี่   เป้าหมาย จึงได้ส ารวจในแต่ละ Process ของ Line การผลิต
             ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน          ซึ่งเห็นว่า ที่ Process ชิ้นส่วนหัวฉีด ที่มีการท างานที่ใช้เวลา
                  ผลการศึกษาค้นคว้า พบว่าการวิเคราะห์ข้อมูลความ  มากที่สุดของกระบวนการผลิต ซึ่งเมื่อเข้าไปศึกษาขั้นตอน

             พึงพอใจในการออก แบบและสร้างอุปกรณ์ Jig. Check     การท างาน และหลักการท างานของ Process ชิ้นส่วนหัวฉีด
             Length and Run out. โดยรวมเฉลี่ย โดยรวมเฉลี่ย อยู่ใน  นี้แล้วพบว่ามีขั้นตอนการท างานซ ้าซ้อนกันอยู่ และเมื่อ

             ระดับดีมาก ( =4.50, =0.45) และการสร้าง อุปกรณ์ Jig.   พนักงานขันชิ้นส่วนหัวฉีด OK แล้วพนักงานจะต้องท าการ
             Check Length and Run out. 2 in 1 ตรวจสอบปลายหัวฉีด  วัด Confirm งานก่อนส่งไปยัง Process ถัดไปนั้น จะมีอยู่ 2
             น ้ามันเชื้อเพลิงเมื่อน าไปใช้งานสามารถ Check Length and   Part ที่จะต้องใช้ Dial Gauge ในการ Confirm part. ขั้นตอนที่

             Run out. ได้เร็วขึ้น 4.3 นาที ต่อจ านวนชิ้นงาน400ชิ้น    1. Jig Length จะตรวจสอบความยาวของปลายหัวฉีด เพื่อดู
             เปรียบเทียบกับการ Check Length and Run out แบบเดิมที่ใช้  ความยาวของตัวฉีดน ้ามัน ขั้นตอนที่ 2. Jig Run out จะ
             มา ซึ่งท าให้ได้ยอดการผลิตตามเป้าหมายได้          ตรวจสอบความกลมของตัวฉีดน ้ามัน เพื่อดูองศาของตัวฉีด

             บทน า                                             น้ามัน ซึ่งปัญหาที่เจออยู่ตอนนี้คือ หลังจากที่ขันชิ้นส่วน
                 ในปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์มีการเจริญเติบโต   หัวฉีดแล้ว พนักงานจะต้องเสียเวลาในการตรวจสอบในจุด
             อย่างรวดเร็ว เนื่องจากความต้องการของตลาดยานยนต์และ  ดังกล่าว ซึ่งพนักงานจะต้อง Check ถึง 2 ขั้นตอน ซึ่งท าให้

             ทางผู้บริโภคเองก็ต้องการใช้ยานพาหนะเป็นจ านวนมาก จึง  ยุ่งยากล าบากและเสียเวลาในการท างาน
             ท าให้ยอดการสั่งซื้อยานพาหนะเพิ่มมากขึ้น ทางผู้ประกอบ   ดังนั้นผู้ศึกษาจึงคิดในการลดเวลาการท างาน ให้

             การเองจึงต้องเพิ่มการส่งออกยานพาหนะมากขึ้นเช่นกัน จึง  สามารถท าการ Check ทั้ง 2 ค่านี้ได้ภายในขั้นตอนเดียวได้
             ส่งผลให้มีการผลิตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งบริษัทที่เป็น Supplier จึง  หรือไม่ และในครั้งนี้เพื่อน ามาสู่กระบวนการผลิตของ Line
             ต้องเพิ่มยอดการผลิตให้กับผู้ประกอบการให้ทันตามก าหนด




                                                             1
                                                                                                              149
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172