Page 107 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 107
๑๐๐
(๒.๖) การฉันนํ้ามหาผลในเวลาวิกาล ซึ่งไดแก นํ้ามะพราว เปนตน ตั้งแตเที่ยงวัน
ลวงไปจนถึงเชาตรูของวันรุงขึ้น
(๒.๗) การไมใหสอบแขงขันเพื่อรับราชการและการอาชีพอยางคฤหัสถ
(๒.๘) การเที่ยวสัญจรขอเงินชาวบาน และ
(๒.๙) การจดสลากกินแบงและซื้อ หรือมีสลากกินแบงไวเปนของตัว
ถาเปนความผิดเล็กนอย ๙ ประการนี้ ใหจัดสงคณะสงฆพิจารณา เจาคณะตางๆ
เปนผูดําเนินสึกตอไป แตหากวาเปนความผิดรายแรง เจาคณะตางๆ สั่งใหสึก แตถาหากขัดขืน
ไมยอมสึกใหดําเนินคดีอีกฐานหนึ่งได มีความผิดจําคุกไมเกินหกเดือน (พระราชบัญญัติคณะสงฆ
พ.ศ.๒๕๐๕ หมวดที่ ๔ “วาดวยนิคหกรรมและการสละสมณเพศ” มาตรา ๔๒)
¡ÒèѺà´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹
ËÅÑ¡¡ÒÃ
โดยทั่วไปแลวหามมิใหจับกุมเด็ก ซึ่งตองหาวากระทําความผิดเวนแตเด็กนั้นไดกระทําผิด
ซึ่งหนา หรือมีหมายจับ หรือคําสั่งของศาล สวนการจับกุมเยาวชนนั้นใหเปนไปตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาและพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครัว มาตรา ๖๖
á¹Ç·Ò§ã¹¡Òû¯ÔºÑμÔ
(๑) ตองแจงแกเด็กหรือเยาวชนวาเขาตองถูกจับ
(๒) แจงขอกลาวหา รวมทั้งสิทธิตามกฎหมายใหทราบ
(๓) หากมีหมายจับใหแสดงตอผูถูกจับ
(๔) กอนสงตัวผูถูกจับใหพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ถูกจับใหเจาพนักงานทําบันทึก
การจับกุม โดยแจงขอกลาวหาและรายละเอียดเหตุแหงการถูกจับ แตหามมิใหถามคําใหการผูถูกจับ
(๕) นําตัวผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนทันที
(๖) ถาขณะจับกุมมีบิดา มารดา ผูปกครอง บุคคลหรือผูแทนองคการซึ่งเด็ก
หรือเยาวชนอาศัยอยูดวยในขณะนั้น ใหผูจับแจงเหตุแหงการจับใหบุคคลดังกลาวทราบดวย แตถาใน
ขณะนั้นไมมีบุคคลดังกลาวอยูกับผูถูกจับ ใหผูจับแจงใหบุคคลดังกลาวคนใดคนหนึ่งทราบถึงการจับกุม
ในโอกาสแรกเทาที่สามารถกระทําได
(๗) หากผูถูกจับกุมประสงคจะติดตอสื่อสารหรือปรึกษาหารือกับบุคคลเหลานั้น
ซึ่งไมเปนอุปสรรคตอการจับกุมและอยูในวิสัยที่จะดําเนินการได ใหผูจับดําเนินการตามควรแกกรณี
โดยไมชักชา
(๘) การจับกุมเด็กหรือเยาวชนตองกระทําโดยละมุนละมอม โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรี
ความเปนมนุษยและไมเปนการประจาน
(๙) ในกรณีที่พนักงานสอบสวนไดรับตัวเด็กหรือเยาวชนซึ่งถูกจับ ใหพนักงานสอบสวน
นําตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาลเพื่อตรวจสอบการจับกุมทันที ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับตั้งแตเวลาที่เด็ก
หรือเยาวชนไปถึงที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ ไมนับเวลาเดินทาง