Page 109 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 109

๑๐๒



                             ¡Ò䌹㹷ÕèÊÒ¸ÒóÐ
                             ËÅÑ¡¡ÒÃ

                             (๑)  หามมิใหทําการคนบุคคลใดในที่สาธารณสถาน เวนแตเจาพนักงานฝายปกครอง

              หรือตํารวจเปนผูคนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๓ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัย
              ดังนี้

                             (๒)  มีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลนั้นมีสิ่งของในความครอบครองเพื่อจะใชในการกระทํา
              ความผิด

                             (๓)  มีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลนั้นมีสิ่งของในความครอบครองซึ่งไดมา โดยการกระทํา
              ความผิด

                             (๔)  มีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลนั้นมีสิ่งของในความครอบครองซึ่งมีไวเปนความผิด
                             á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºÑμÔ

                             (๑)  กอนการตรวจคนแสดงความบริสุทธิ์ใจของผูตรวจคน ใหผูถูกคนดูกอนลงมือ
              ตรวจคน

                             (๒)  การคนผูหญิงตองใหเจาหนาที่ตํารวจหญิงเปนผูตรวจคน
                             (๓)  หากคนพบสิ่งของในความครอบครองซึ่งใชในการกระทําความผิด ไดมาโดย

              การกระทําความผิดหรือมีไวเปนความผิดใหทําบันทึกรายละเอียดแหงการคนและสิ่งของที่คนได
              และใหอานบันทึกการคนใหผูถูกคนฟงและใหลงลายมือชื่อรับรองไว

                             (๔)  หากมีการขัดขวางมิยอมใหตรวจคน เจาพนักงานผูคนมีอํานาจเอาตัวผูนั้นควบคุม
              ไวหรือใหอยูในความดูแลของเจาพนักงานในขณะที่ทําการคนเทาที่จําเปน เพื่อมิใหขัดขวางถึงกับ

              ทําใหการคนนั้นไรผล


               ¢ŒÍ¤ÇÃÃÐÇѧ

                       การที่เจาหนาที่พบเห็นผูตองหามีพฤติการณอันควรสงสัยวาจะกระทําความผิด
               และพาอาวุธปนติดตัวไปในเมืองโดยไมไดรับอนุญาต ซึ่งเปนความผิดซึ่งหนา แมจะไมมีหมายจับ

               แตไดแสดงตัววาเปนเจาพนักงานตํารวจใหผูตองหาทราบแลว จึงมีอํานาจตรวจคนและจับผูตองหาได
               ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘(๑) (๓) และมาตรา ๙๓ การที่ผูตองหา

               ใชมือกดอาวุธปนไมใหเจาพนักงานที่ดึงออกมาจากเอวเพื่อยึดเปนของกลาง จึงเปนการขัดขวาง
               เจาพนักงานในการปฏิบัติตามหนาที่โดยใชกําลังประทุษราย ตามประมวลกฎหมายอาญา

               มาตรา ๑๓๘ วรรคสอง (แนวคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๙๑๒/๒๕๓๙)
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114