Page 48 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 48
๓๙
º··Õè ô
¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ¡Ãд١ËÑ¡
¨Ø´»ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ
ผูเรียนสามารถจําแนกและอธิบายชนิดของกระดูกหักและทําการปฐมพยาบาลไดอยาง
ถูกตอง โดยใชความรู ความเขาใจและทักษะดานการปฐมพยาบาลผูบาดเจ็บกระดูกหักและสามารถ
ทําการเขาเฝอกชั่วคราว โดยใชวัสดุหรืออุปกรณที่หาไดในสถานที่เกิดเหตุไดอยางถูกวิธี ตลอดจน
สามารถนําความรูที่ไดรับไปชวยเหลือและแนะนําผูอื่นไดอยางถูกตอง
กระดูกหัก (Bone fracture, Fracture หรือ Broken bone) เปนภาวะที่พบไดบอยทั้งในเด็ก
และผูใหญ สวนใหญมักเกิดจากอุบัติเหตุที่มีแรงมากระทํามากเกินไปจนทําใหกระดูกหักและกอให
เกิดอาการเจ็บปวด บวม เคลื่อนไหวไมได หรือเคลื่อนไหวผิดปกติ ในปจจุบันนี้การรักษากระดูกหัก
มีความเจริญกาวหนาไปมาก สามารถรักษาใหหายกลับมาใชงานไดในเวลาอันรวดเร็ว ไมตองพิการจาก
ความผิดรูปหรือกระดูกสั้นยาวไมเทากันอีกตอไป โดยเฉลี่ยแลวคนเราจะเคยกระดูกหักประมาณ ๒ ครั้ง
ในชีวิต แมกระทั่งในประเทศที่พัฒนาแลว ฉะนั้น จึงอาจเกิดขึ้นกับใครก็ได เมื่อเปนเชนนี้เราจึงควรให
ความสําคัญที่จะเรียนรูถึงวิธีการปฐมพยาบาลกระดูกหักที่ถูกวิธีเพื่อเอาไวชวยเหลือตัวเอง ครอบครัว
หรือคนอื่น ๆ ที่ตกอยูในสถานการณดังกลาว
¡Ãд١ËÑ¡ หมายถึง ภาวะที่สวนประกอบของกระดูกแตกแยกออกจากกัน อาจเปนการ
แตกแยกโดยสิ้นเชิง หรืออาจมีบางสวนติดกันอยูบาง ซึ่งขึ้นอยูกับความรุนแรงของแรงที่มากระแทกตอ
กระดูก ทําใหแนวการหักของกระดูกแตกตางกัน
ª¹Ô´¢Í§¡Ãд١ËÑ¡
โดยทั่วไปแบงเปน ๒ ชนิด คือ กระดูกหักชนิดปด (closed fracture) และกระดูกหักชนิดเปด
(opened fracture) ซึ่งสามารถวินิจฉัยไดจากการสังเกต
ñ. ¡Ãд١ËÑ¡ª¹Ô´»´ คือ กระดูกหักแลว ò. ¡Ãд١ËÑ¡ª¹Ô´à»´ คือ กระดูกหักแลว
ไมทะลุผิวหนังและไมมีบาดแผล ทิ่มแทงทะลุผิวหนัง ทําใหมีแผลตรง
บนผิวหนังตรงบริเวณที่หัก บริเวณที่กระดูกหัก โดยอาจไมมีกระดูก
โผลออกมานอกผิวหนังก็ได แตมีแผล
เห็นไดชัดเจน
ที่มา : http://thainurseclub.blogspot.com/