Page 51 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 51

๔๒




                            - ถามีการตกเลือด ตองหามเลือด หลีกเลี่ยงวิธีการหามเลือดแบบขันชะเนาะ
              เพราะถารัดแนนเกินไป อาจจะทําใหเลือดแดงไปเลี้ยงสวนปลายไมพอ

                             - ถามีบาดแผลตองตกแตงแผลและพันแผล ในรายที่มีกระดูกหักแบบเปดใหใช
              ผาสะอาดคลุมปดไว แลวพันทับ หามดึงกระดูกใหเขาที่
                          ๓.  การเขาเฝอกชั่วคราว หรือการดามบริเวณที่หักดวยเฝอกชั่วคราวใหถูกตองและรวดเร็ว
              จะชวยใหบริเวณที่หักอยูนิ่ง ลดความเจ็บปวด และไมกอใหเกิดการบาดเจ็บเพิ่มขึ้น



              ËÅÑ¡¡ÒÃࢌÒང͡ªÑèǤÃÒÇ

                          เมื่อกระดูกหักการเคลื่อนไหวของขอยอมทําใหชิ้นกระดูกที่หักเคลื่อนไหวไปดวย จนอาจ
              เกิดอันตราย ดังนั้นการจะใหชิ้นสวนกระดูกที่หักอยูนิ่งๆ ทําไดโดยการยึดขอกระดูกใหอยูนิ่งดวยวิธีใด
              ก็ได การเขาเฝอกชั่วคราวโดยใชวัสดุที่หาไดงาย เชน ใชไมดาม แฟม กระดาษแข็ง หนังสือพิมพ ฯลฯ
              พับทบใหยาวพอที่จะยึดใหอยูนิ่งๆ รวมทั้งผาและเชือกสําหรับพันรัดดวย โดยมีหลักวา μŒÍ§ÂÖ´¢ŒÍ¡Ãд١

              ñ ¢ŒÍ à˹×ÍÃÍ¡Ãд١ËÑ¡ áÅÐ ñ ¢ŒÍãμŒÃÍ¡Ãд١ËÑ¡ãËŒÍÂÙ‹¹Ôè§æ äÁ‹à¤Å×è͹äËÇ ไมควรเคลื่อนยาย
              ผูปวยจนกวาจะเขาเฝอกชั่วคราวใหเรียบรอยกอน ถาไมมีวัสดุเลย ใหใชแขนหรือขาขางที่ไมหัก

              หรือลําตัวเปนเฝอกชั่วคราว โดยผูกยึดใหดีกอนที่จะเคลื่อนยายผูปวย ตามขั้นตอน ดังนี้
                          ๑.  หาวัสดุที่ใชดามซึ่งตองยาวกวาอวัยวะสวนที่หัก โดยเฉพาะจะตองยาวพอที่จะบังคับ
              ขอตอที่อยูเหนือและใต บริเวณที่สงสัยวากระดูกหัก เชน ขาทอนลางหัก ขอเขาและขอเทาจะตองถูก
              บังคับไวดวยเฝอก เปนตน

                          ๒.  ไมวางเฝอกลงบนบริเวณที่กระดูกหักโดยตรง ควรมีสิ่งอื่นรอง เชน ผา หรือสําลี
              วางไวตลอดแนวเฝอก เพื่อไมใหเฝอกกดลงบนบริเวณผิวหนังโดยตรง ซึ่งทําใหเจ็บปวดและเกิดเปน

              แผลจากเฝอกกดได
                          ๓.  มัดเฝอกกับอวัยวะที่หักใหแนนพอควร ถารัดแนนจนเกินไปจะกดผิวหนังทําให
              การไหลเวียนของเลือดไมสะดวกเปนอันตรายได โดยระวังอยาใหปมเชือกกดแผล จะเพิ่มความเจ็บปวด
              และเนื้อเยื่อไดรับอันตราย และคอยตรวจบริเวณที่หักเปนระยะๆ เพราะอาจจะมีการบวม ซึ่งจะตอง

              คลายเชือกที่ผูกใหแนนนอยลง
                          ๔.  บริเวณที่เขาเฝอกจะตองจัดใหอยูในทาที่สบายที่สุด อยาจัดกระดูกใหเขารูปเดิม

              ไมวากระดูกที่หักจะโคง โกง หรือ คด ก็ควรเขาเฝอกในทาที่เปนอยู


              ª¹Ô´¢Í§à½„Í¡ªÑèǤÃÒÇ

                          เฝอกชั่วคราว แบงออกเปน ๒ ชนิด ไดแก
                          ๑.  เฝอกธรรมชาติ คือ เฝอกที่มีอยูแลวในตัวผูปวย ไดแก อวัยวะหรือกระดูกที่อยู
              ใกลเคียงกับกระดูกที่หัก เชน กระดูกแขนหักก็ใหมัดแขนขางนั้นติดกับลําตัว หากกระดูกขาขางหนึ่งหัก

              ก็ใหมัดขาขางที่หักใหชิดแนนกับขางที่ดี
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56