Page 50 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 50

๔๑



                 ÊÒàËμØ¢Í§¡Ãд١ËÑ¡

                             ๑.  การไดรับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางออม แลวสงผลใหกระดูกแตกหรือแยก
                 ออกจากกัน
                             ๒.  อุบัติเหตุทางจราจร

                             ๓.  การหกลมหรือตกจากที่สูง
                             ๔.  การเลนกีฬา
                             ๕.  โรคกระดูก

                             ๖.  การหดเก็งของกลามเนื้อและเสนเอ็น
                             ๗.  ดัชนีมวลกายตํ่า


                 ÍÒ¡Òâͧ¼ÙŒ·Õè¡Ãд١ËÑ¡

                             ๑.  เจ็บปวดบริเวณกระดูกหัก
                             ๒.  บวมรอบ ๆ กระดูกหัก

                             ๓.  รูปรางของแขนขาหรือขอตอเปลี่ยนไปจากรูปเดิม  เชน คดงอ โกง โปงออก ฯลฯ
                             ๔.  บริเวณนั้น ๆ เคลื่อนไหวไมได หรือเมื่อเคลื่อนไหวแลวมีอาการเจ็บปวด
                             ๕.  อาจไดยินเสียงกระดูกหัก เมื่อบาดเจ็บโดยผูบาดเจ็บหรือผูขางเคียงไดยิน

                             ๖.  หากกดเบา ๆ บนบริเวณกระดูกหัก จะไดยินเสียงบาดเจ็บ


                 ËÅÑ¡·ÑèÇä»ã¹¡Òû°Á¾ÂÒºÒżٌ·Õè¡Ãд١ËÑ¡

                             ๑.  การซักประวัติเกี่ยวกับการประสบเหตุ เพื่อประเมินความรุนแรงของแรงที่มากระทํา
                                 - เกิดไดอยางไร
                                 - ในทาใด

                                 - ระยะเวลาที่เกิด
                                 - ตําแหนงของกระดูกที่ไดรับบาดเจ็บ
                             ๒.  การตรวจรางกาย โดยตรวจทั้งตัว และสนใจตอสวนที่ไดรับอันตรายมากเปนอันดับแรก

                                 - ถอดเสื้อผาผูบาดเจ็บออก ควรใชวิธีตัดตามตะเข็บ อยาพยายามใหผูบาดเจ็บ
                 ถอดเอง เพราะจะทําใหเจ็บปวดเพิ่มขึ้น
                                 - สังเกตอาการและอาการแสดงวามีการบวม รอยฟกชํ้า หรือ จํ้าเลือด บาดแผล

                 ความพิการผิดรูป และคลําอยางนุมนวล
                                 - ถามีการบวมและชามากใหจับชีพจรเปรียบเทียบกับแขนหรือขาทั้งสองขาง
                                 - ตรวจระดับความรูสึก การเปลี่ยนแปลงสีผิว การตรวจบริเวณที่หัก ตองทําดวย

                 ความระมัดระวัง เพราะอาจทําใหปลายกระดูกที่หักเคลื่อนมาเกยกัน หรือทะลุออกมานอกผิวหนัง
                                 - ขณะตรวจรางกาย ตองดูแลทางเดินหายใจใหโลง ประเมินการหายใจและการไหลเวียน
                 ของเลือด สังเกตการตกเลือด
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55